Page 25 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 25
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 1-7
7
1.2 กลยุทธ์การค้าแบบเน้นการมองตลาดภายในประเทศ เทียบกับกลยุทธ์การค้าแบบเน้นการมองตลาด
ภายนอกประเทศ
ต้ังแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งท่ีสองจนถึงทศวรรษที่ 1970 ประเทศกาลังพัฒนาจานวนมากได้
พยายามท่ีจะเร่งพัฒนาประเทศของตนด้วยการจากัดการนาเข้าสินค้าอุตสาหกรรม โดยหวังว่าการท่ี
ผู้ประกอบการภายในประเทศไม่ต้องเผชิญกับคู่แข่งจากต่างประเทศ จะช่วยบ่มเพาะให้อุตสาหกรรมใน
ประเทศเติบโตได้ นโยบายการค้าตามแนวคิดดังกล่าวในการปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศนี้ มักถูก
เรียกว่า นโยบายการทดแทนการนาเข้า (Import-substitution policy) โดยมีแนวคิดอยู่ในกลุ่ม กลยุทธ์
การค้าแบบเน้นการมองตลาดภายในประเทศ (Inward-looking strategy) ซ่ึงมีฐานมาจากแนวคิดการกีด
กันทางการค้าตาม ข้ออ้างด้านอุตสาหกรรมเกิดใหม่ (Infant industry argument) แนวคิดด้าน
อุตสาหกรรมเกิดใหม่นี้ได้มีการวิเคราะห์ถึงผลดีผลเสียไว้แล้วในหน่วยที่ 4 ดังนั้นจะไม่กล่าวถึงซ้าอีก อย่างไรก็
ตามในอดตี ทผ่ี ่านมา ประเทศท่ีกาลังพัฒนาหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยก็ได้มีการใช้นโยบายทดแทนการ
นาเข้านี้โดยการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศด้วยการกีดกันการนาเข้า ในขณะท่ีหลายประเทศได้ใช้
กลยุทธ์การค้าแบบเน้นการมองตลาดภายนอกประเทศ (Outward-looking strategy) ที่เน้นการผลิตท่ีมี
ส่วนร่วมกับตลาดการค้าระหว่างประเทศ โดยไม่มีการใช้นโยบายไปทาให้ให้เกิดการบิดเบือนการทางานของ
ระบบราคา น่ันคือทาการผลิตให้สอดคล้องกับความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของตน อย่างไรก็ตาม บาง
ประเทศอาจมีนโยบายที่เน้นตลาดภายนอกมากกว่าน้ี คือใช้นโยบายส่งเสริมการส่งออก (Export
promotion) ซึ่งจะมีการใช้มาตรการการให้เงินอุดหนุน การยกเว้นภาษี หรือการสนับสนุนการพัฒนาทาง
เทคโนโลยี เพอื่ ส่งเสริมให้มกี ารส่งออกมากขึ้น
1) ขอ้ ดีและข้อเสียของกลยุทธ์การคา้ แบบเน้นการมองตลาดภายในประเทศ กลยุทธท์ ีเ่ น้นนโยบาย
การทดแทนการนาเข้า มขี อ้ ดหี ลายดา้ น ดงั นี้
(1) มีความเส่ียงต่าในการสร้างอุตสาหกรรมภายในประเทศของตนเอง เน่ืองจากมีตลาดรองรับ
สาหรับสินค้าอุตสาหกรรมในประเทศพร้อมอยู่แล้ว เพยี งแตผ่ ลติ สนิ ค้าขึ้นมาแทนสนิ ค้านาเข้า
(2) การปกป้องตลาดภายในประเทศจากการแข่งขันของสินค้าจากนอกประเทศนั้น ทาได้ง่ายกว่า
การท่จี ะบังคับใหต้ า่ งประเทศลดการกีดกันสนิ คา้ อตุ สาหกรรมจากประเทศของตน
(3) ผู้ผลิตต่างชาติมีแรงจูงใจท่ีจะย้ายฐานการผลิตของตนเข้ามาในประเทศท่ีมีการต้ังกาแพงภาษี
เพ่ือหลีกเลี่ยงภาษีดังกล่าว ส่งผลให้ประเทศผู้ใช้นโยบายทดแทนการนาเข้า ได้ท้ังการลงทุนจากต่างประเทศ
และการผลิตด้วย
อยา่ งไรก็ตามกลยทุ ธด์ งั กล่าวก็มขี ้อเสยี หลายดา้ นเช่นกนั คือ
(1) ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมภายในประเทศเกดิ ความเคยชนิ และไม่กระตือรอื รน้ ท่จี ะแข่งขันหรือ
พัฒนาประสทิ ธิภาพการผลติ เน่ืองจากไดร้ ับการปกป้องจากการแขง่ ขันของต่างชาติ
(2) ขนาดของตลาดภายในประเทศท่ีค่อนข้างเล็ก ทาให้ไม่สามารถที่จะใช้ประโยชน์จากความ
ประหยัดเนือ่ งจากขนาดการผลิต (Economies of scale) ได้อยา่ งเตม็ ท่ี