Page 88 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 88

3-16	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

                                                            16

การค้าข้าวทั่วโลก ประเทศไทยเป็นผผู้ ลติ และส่งออกยางรายใหญ่ทส่ี ดุ ของโลก พืชท่ีมีมูลค่าการผลิตสูงสุดอื่น
ได้แก่ อ้อย มันสาปะหลัง เนื้อไก่ เนอ้ื หมู มะม่วง มงั คุด ฝรงั่ สัปปะรด รวมท้งั พวกผลไมเ้ ขตรอ้ น ประเทศไทย
ไดช้ ่ือวา่ เปน็ แหล่งผลติ อาหารท่สี าคัญของโลก และเปน็ ผสู้ ง่ ออกอาหารรายใหญ่อนั ดบั 5 ของโลก

       ประเทศไทยมีกาลังแรงงาน 39.38 ล้านคน อย่ใู นภาคเกษตรกรรมมากที่สดุ 15.41 ล้านคน หรอื รอ้ ย
ละ 39.1 ของกาลังแรงงาน ต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ค่าแรงข้ันต่าทางการทกุ จังหวดั เป็น 300 บาท
อัตราการวา่ งงานของประเทศอย่ทู ี่ร้อยละ 0.7 ซึง่ น้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากประเทศกัมพูชา โมนาโก
และกาตาร์

       ความเหล่อื มล้าของรายไดใ้ นประเทศไทยถอื วา่ สูงสดุ ประเทศหนง่ึ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
ครวั เรือนทร่ี วยที่สดุ ร้อยละ 20 มีรายได้ครัวเรือนเกินครึ่ง ดัชนจี ีนขี องรายได้ครวั เรอื นอยู่ท่ี 0.51 ความ
แตกตา่ งของระดบั การพฒั นาเศรษฐกิจระหวา่ งภูมภิ าคเปน็ ปัจจยั กาหนดความยากจนและความเหลื่อมล้าของ
ภมู ิภาคในประเทศไทย ครอบครัวรายได้นอ้ ยและยากจนกระจกุ อยใู่ นภาคเกษตรกรรมอย่างมาก และร้อยละ
90 ของผู้ยากจนอาศัยอยู่ในชนบท กรงุ เทพมหานครซงึ่ มีผลิตภัณฑ์จังหวดั สูงสุดมีมูลค่าผลิตภณั ฑ์จงั หวดั เปน็
406.9 เท่าของจังหวดั แม่ฮ่องสอนซึง่ มนี ้อยที่สดุ

       ผลพวงจากความขัดแยง้ ทางการเมืองสง่ ผลกระทบไปสเู่ ศรษฐกจิ ในปี 2553 การเติบโตของจดี ีพขี อง
ประเทศไทยอยู่ทร่ี าวร้อยละ 4–5 ลดลงจากร้อยละ 5–7 ในรัฐบาลกอ่ น ความไม่แนน่ อนทางการเมืองถกู ระบุ
เปน็ สาเหตหุ ลักของการเส่ือมของความเช่อื มัน่ นักลงทุนและผู้บริโภค กองทุนการเงินระหว่างประเทศคาด
การณวื ่า เศรษฐกจิ ไทยจะฟืน้ ตัวอยา่ งแข็งแรงจากจีดีพีเพม่ิ ขึน้ รอ้ ยละ 0.1 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 5.5 ในปี
2555 และ 7.5 ในปี 2556 เนอ่ื งจากนโยบายการเงนิ ที่อานวยความสะดวกของธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ตลอดจนมาตรการกระตุ้นการคลังรวมทรี่ ฐั บาลในชว่ งน้ันนามาใช้ หลงั รฐั ประหารในประเทศไทยเม่ือวันที่ 22
พฤษภาคม 2557 สานักข่าวท่ัวโลก รวมท้ังเอเอฟพีจัดพิมพ์บทความซึ่งอ้างว่า ประเทศไทยอยู่ ณ "ขอบภาวะ
เศรษฐกิจถดถอย" บทความดังกล่าวมุ่งสนใจชาวกัมพูชาเกือบ 180,000 คนที่ออกนอกประเทศเนื่องจากเกรง
การจากดั การเขา้ เมือง ก่อนสรุปดว้ ยสารสนเทศวา่ เศรษฐกิจไทยหดตัวร้อยละ 2.1 ตงั้ แต่เดือนมกราคมถึง
ปลายเดอื นมีนาคม 2557 อย่างไรก็ตามการเติบโตของเศรษฐกิจไทยก็มีความผันผวนจากหลายปัจจัย นอกจาก
ผลจากความขัดแยง้ ทางการเมืองแล้ว ยงั มเี รื่องการเกิดอุทกภยั ใหญ่ในปี 2554 ปญั หาความซบเซาของ
เศรษฐกิจโลก เป็นต้น เปน็ ผลทาให้การเตบิ โตทางเศรษฐกิจไมไ่ ดเ้ ป็นไปดังการคาดการณ์

ตารางที่ 3.1 เครื่องช้วี ดั เศรษฐกิจราชอาณาจักรไทย            ปี 2557     ปี 2558
                                                                       (คาดการณ์)
                                                     ปี 2556
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93