Page 83 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 83
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 3-11
11
- (1) ความเหล่อื มลา้ ด้านสนิ ทรัพย์ท้ังด้านการเงินและการถอื ครองท่ีดินยังคงกระจุกตัวอยู่ใน
กลมุ่ คนเพยี งสว่ นน้อย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการถือครองทดี่ นิ โดยกลมุ่ ผถู้ อื ครองท่ดี นิ รอ้ ยละ 20
ทมี่ กี ารถอื ครองทีด่ นิ มากท่สี ุด มสี ัดส่วนการถอื ครองท่ีดนิ สงู กวา่ กล่มุ ผูถ้ ือครองท่ีดนิ ร้อยละ
20 ที่มกี ารถือครองทีด่ ินน้อยท่ีสุด 325.7 เทา่ เนื่องจากปัญหากรรมสิทธ์ทิ ดี่ นิ และการขาด
ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการท่ีดินวา่ งเปลา่ ของภาครัฐ
- (2) เดก็ ยากจนยังเขา้ ไม่ถึงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขณะที่โอกาสในการเข้าถงึ การศกึ ษาในระดับ
ปริญญาตรียงั มีความแตกต่างกันตามฐานะของกลุม่ ประชากร ระหว่างเขตเมือง-ชนบท และ
ระหว่างภูมิภาค มีปจั จยั หลกั มาจากปัญหาเรื่องคา่ ครองชพี และการเดินทางไปศึกษา โดยกลมุ่
ประชากรรอ้ ยละ 10 ที่มีฐานะความเปน็ อยู่ดที ีส่ ุด มโี อกาสเขา้ ถงึ การศึกษาระดับปริญญาตรี
มากกวา่ กล่มุ ประชากรร้อยละ 10 ท่มี ีฐานะความเป็นอยดู่ อ้ ยท่สี ดุ ประมาณ 19.1 เทา่
นกั ศกึ ษาในเขตเมืองมโี อกาสสูงกว่านกั ศึกษาในเขตชนบทประมาณ 2.2 เท่า
- (3) คณุ ภาพการให้บริการสาธารณสุขยงั คงมีความเหล่ือมล้ากันระหวา่ งภมู ภิ าค โดยเฉพาะ
การกระจายทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ อาทิ จากการสารวจทรัพยากร
สาธารณสุขในปี 2556 พบวา่ อัตราสว่ นแพทย์ต่อประชากรระหวา่ งกรงุ เทพฯ และภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือต่างกนั ถึง 3.6 เท่า
- (4) ความเหลอ่ื มล้าการเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมของแรงงาน แรงงานอิสระเขา้ ถึงการ
คมุ้ ครองมากขึน้ จากการเข้าถึงการประกนั ตนตามมาตรา 40 ที่เพม่ิ ขน้ึ จาก 1.29 ล้านคน ใน
ปี2555 เป็น 2.471 ล้านคน ในปี 2557 ทาให้แรงงานในระบบมสี ัดสว่ นเพม่ิ ขนึ้ เปน็ ร้อยละ
42.4 ในปี 2557 อยา่ งไรก็ตาม แรงงานในระบบไดร้ บั ค่าจา้ งเฉลยี่ สงู กวา่ แรงงานนอกระบบ
ประมาณ 2.1 เท่า ในปี 2556
- (5) ความเหลือ่ มล้าด้านกระบวนการยุตธิ รรม เน่อื งจากประชาชนไมเ่ ขา้ ใจกฎหมาย เข้าไม่ถงึ
กระบวนการยุติธรรม และหน่วยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรมขาดการบรู ณาการในการทางาน
นอกจากน้ี ผู้มรี ายไดน้ ้อยมักไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรม ไม่สามารถต่อสูค้ ดีจากการท่ีไมส่ ามารถ
รบั ภาระคา่ ใช้จา่ ยในกระบวนการยุติธรรมและต้องใช้ระยะเวลายาวนาน
คนไทยมคี วามมนั่ คงทางสงั คมมากขน้ึ จากการทค่ี นไทยกวา่ ร้อยละ 99.9 ได้รบั ความคุ้มครอง
ทางด้านสุขภาพ โดยอยภู่ ายใต้ระบบประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ รอ้ ยละ 73.8 ระบบประกันสังคมรอ้ ยละ 16.7
และระบบสวัสดกิ ารรักษาพยาบาลข้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ ร้อยละ 7.1 ขณะท่ี กลมุ่ ผ้ดู ้อยโอกาสมีหลกั ประกัน
ทางรายได้ม่นั คงข้นึ และมคี วามครอบคลุมมากขึ้น โดยในปี 2558 ผสู้ งู อายุไดร้ บั การสงเคราะหเ์ บีย้ ยงั ชีพ
เพิ่มข้นึ เปน็ แบบข้นั บันไดตามชว่ งอายุ 8.3 ลา้ นคน จากผู้สูงอายทุ ั้งประเทศ 10.4 ลา้ นคน สว่ นผูพ้ กิ ารไดร้ บั