Page 85 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 85

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559       3-13

                                                     13

           9. ภาษาไทยมวี รรคตอนในการเขยี นและการพูด เพอื่ กาหนดความหมายท่ีตองการสอ่ื สารหาก
              แบงวรรคตอนการเขยี นผิด หรือพดู เวนจงั หวะผดิ ความหมายก็จะเปลยี่ นไป

           10. ภาษาไทยมีระดบั การใชแบงไดดังนี้

           10.1 ระดับพธิ กี าร - ใชในพิธีการสาคัญตางๆ

           10.2 ระดับทางการ - ใชในโอกาสทีเ่ ปนทางการ (ภาษาทางการ)

               10.3 ระดับกึ่งทางการ - ใชในโอกาสท่ีเปนทางการ แตลดระดับโดยการใชภาษาสุภาพ
และเปนกันเองมากขน้ึ

           10.4 ระดับสนทนา - ใชในโอกาสท่ีไมเปนทางการ เชน การพูดคุยทั่วไป

           10.5 ระดบั กันเอง - ใชในโอกาสที่ไมเปนทางการกับเพื่อนสนทิ สามารถใช ภาษาพูดหรอื

ภาษาคะนอง

      วฒั นธรรมไทยไดร้ ับอิทธพิ ลหลกั จากวัฒนธรรมอินเดีย จนี ขอม ตลอดจนวญิ ญาณนยิ ม ศาสนาพทุ ธ
และศาสนาฮินดู วัฒนธรรมแหง่ ชาตขิ องไทยเปน็ การสรา้ งสรรคใ์ หม่ซึ่งส่งิ ท่ปี ัจจุบนั ถอื เปน็ วฒั นธรรมไทยเดิมไม่
มอี ยูใ่ นรูปแบบน้ันเม่ือกวา่ รอ้ ยปกี ่อน บ่อเกิดสามารถสืบย้อนไปได้ถงึ รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้
เจ้าอยูห่ วั สมยั สงครามโลกคร้ังท่สี อง หลวงพบิ ูลสงครามสนับสนุนการสง่ เสริมวฒั นธรรมไทยกลางเป็น
วัฒนธรรมแห่งชาติ นยิ ามและยับยัง้ มใิ ห้ชนกลุ่มน้อยแสดงออกซ่ึงวัฒนธรรมของตน วฒั นธรรมพลเมืองรนุ่
ปจั จุบันซงึ่ ส่วนใหญย่ ดึ รนุ่ อดุ มคตขิ องวฒั นธรรมไทยกลางเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งรวมลกั ษณะชาตนิ ยิ มสมยั
รัชกาลที่ 5 ราชย์กมั พชู า และลทั ธอิ งิ สามัญชนท่ีนิยมบุคคลลักษณะ คนไทยเน้นและใหค้ ุณค่ารูปแบบมารยาท
ภายนอกอย่างย่งิ เพ่อื รักษาความสัมพนั ธป์ ระสานกนั กฎมารยาทหลายอย่างเป็นผลพลอยได้ของศาสนาพทุ ธ
สังคมไทยเปน็ สงั คมไมเ่ ผชิญหน้าทเ่ี ล่ยี งการวิจารณใ์ นท่ีสาธารณะ การเสียหน้าเปน็ ความเสื่อมเสยี แก่คนไทย
จงึ เลี่ยงการเผชญิ หน้าและมุง่ ประนีประนอมในสถานการณ์ลาบาก หากสองฝ่ายไมเ่ ห็นด้วยกนั การไหวเ้ ป็น
แบบการทักทายและแสดงความเคารพของผู้นอ้ ยต่อผ้ใู หญ่ตามประเพณีและมีแบบพธิ เี ข้มงวด คนไทยใช้ช่อื ตน้
มิใช่นามสกลุ และใชค้ าวา่ "คุณ" ก่อนช่ือ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90