Page 82 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 82
3-10 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
10
ประชากรในปี 2553 มีลกั ษณะความเป็นปจั เจกสูง ไม่ใหค้ วามส้าคัญกับการมีครอบครัว ส่งผลต่อรปู แบบการ
ประกอบอาชีพและอัตราการเจรญิ พนั ธร์ุ วมของประเทศในอนาคต
(3) กลุ่มผูส้ ูงอายวุ ัยกลางและวยั ปลายมีแนวโนม้ เพม่ิ สูงข้นึ สะท้อนถงึ ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยด้านสุขภาพท่ี
เพม่ิ มากขึ้น ขณะทีผ่ ู้สงู อายุจานวนมากยังมรี ายได้ไม่เพียงพอในการยังชพี ผู้สูงอายมุ แี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ จาก 10.3
ล้านคน (ร้อยละ 16.2) ในปี 2558 เป็น 20.5 ลา้ นคน (ร้อยละ 32.1) ในปี 2583การเพิ่มข้นึ ของผู้สูงอายวุ ยั
กลางและวยั ปลายจะส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลท่ีเพ่ิมสงู ขึ้น แมผ้ ้สู งู อายุมสี ว่ นร่วมในกาลงั แรงงาน
เพ่ิมขน้ึ แต่มรี ายได้ไมเ่ พยี งพอกับคา่ ใชจ้ ่าย เนือ่ งจากมีการออมน้อย และแหล่งรายได้หลักร้อยละ 78.5 ของ
รายได้ท้ังหมดมาจากการเกือ้ หนุนของบตุ ร
ครัวเรือนไทยโดยเฉลย่ี มีขนาดลดลงและรูปแบบของครอบครัวเปล่ยี นแปลงมีหลากหลายรูปแบบ
มากขึน้ อตั ราการเจรญิ พันธทุ์ ่ีลดลงส่งผลใหข้ นาดครวั เรอื นโดยเฉลยี่ ลดจาก 3.6 คน ในปี 2543 เหลือ 3 คน
ในปี 2556
ประชากรไทยยงั มีปญั หาเชงิ คุณภาพท้ังด้านสุขภาพ การเรยี นรู้ และคุณธรรมจรยิ ธรรม โดยคนไทย
มีอายุคาดเฉล่ียสงู ขน้ึ อายุคาดเฉลี่ยเมอ่ื แรกเกิดของคนไทย ปี 2557 เพศชาย 71.3 ปี เพศหญงิ 78.2 ปี แต่
เสยี ชวี ิตก่อนวัยอันควรจากโรคและการบาดเจ็บ เนื่องจากโรคไมต่ ดิ ตอ่ และอบุ ตั ิเหตุ อย่างไรก็ตาม คนไทย
ได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาสงู ข้นึ จานวนปกี ารศึกษาเฉล่ียของประชากรวยั แรงงานอายุ 15-59 ปี เพิ่มขึน้ อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง โดยช่วงปี 2551-2556 มกี ารศึกษาเฉล่ีย 8.9 ปี ขณะที่คณุ ภาพการศึกษาอยู่ในระดับตา่ สะทอ้ นได้
จากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ในปี 2556 มีคา่ เฉลย่ี ้ตา่ กวา่ ร้อยละ 50
นอกจากนี้ คนไทยในสดั สว่ นสูงมปี ญั หาด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม โดยผลการวจิ ัยและการสารวจต่างๆ พบว่า
ปญั หาสาคญั ท่ีสดุ คือ ความซื่อสัตยส์ จุ ริต และการทุจริตคอร์รปั ชัน
สถานการณค์ วามยากจนมแี นวโน้มลดลง แต่ยังคงมคี วามเหลอื่ มล้าของการกระจายรายได้ สัดส่วน
คนจนลดลงอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ 42 ในปี 2543 เหลอื ร้อยละ 10.9 ในปี 2556 แต่ความยากจนยงั กระจุก
ตัวหนาแนน่ ในภาคตะวันเฉียงเหนอื และภาคเหนือ ขณะทค่ี วามเหลอื่ มล้าดา้ นรายไดม้ แี นวโนม้ ดขี ้นึ เลก็ นอ้ ย
คา่ สมั ประสิทธ์ิความไมเ่ สมอภาค (Gini Coefficient) ดา้ นรายได้ลดลงจาก 0.484 ในปี 2554เหลอื 0.465 ใน
ปี 2556 อยา่ งไรกต็ าม ความแตกตา่ งของรายได้ระหวา่ งกล่มุ คนรวยท่สี ุดกบั กลุ่มคนจนท่ีสุดแตกตา่ งกนั ถงึ
34.9 เทา่ ในปี 2556 โดยกลุ่มคนรวยทีส่ ดุ รอ้ ยละ 10 ถือครองรายไดส้ ูงถงึ ร้อยละ 36.8 ของรายได้ท้งั หมด
ขณะท่กี ลมุ่ คนจนท่สี ุดร้อยละ 10 ถอื ครองรายได้เพียงรอ้ ยละ 1.1 สาเหตพุ ื้นฐานที่สาคัญจากโครงสร้าง
เศรษฐกิจที่ไม่สมดลุ ส่งผลให้การกระจายผลประโยชนข์ องการพัฒนาไปยังกลมุ่ คนต่างๆ ในสงั คมไมท่ ั่วถึง
ความเหล่ือมล้าระหว่างกลมุ่ คนยังคงเป็นปัญหาสาคัญของสังคมไทยอันเน่ืองมาจาก