Page 81 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 81
สารเคมใี นชวี ติ ประจ�ำวนั และสิง่ แวดล้อม 5-71
7.2 ใหบ้ ริษัทผ้ผู ลติ โฟมพจิ ารณายกเลิกหรือลดการใช้สาร CFC ในการผลิตโฟม โดยใชส้ ารอนื่
แทน สำ� หรบั เรอื่ งนป้ี ระเทศตา่ งๆ ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งมาก ซงึ่ ประเทศไทยไดร้ ว่ มลงนามในขอ้ ตกลง
มอนทรีอลั (Montreal Protocol) เมอ่ื พ.ศ. 2530 เพือ่ จำ� กดั การใช้สาร CFC ส�ำหรับภาคเอกชนนน้ั ได้
พฒั นาใชส้ ารขยายตวั ชนดิ อน่ื แทนสาร CFC ทน่ี ยิ มใชค้ อื เพนเทน (Pentane) บรษิ ทั ญปี่ นุ่ ไดป้ ระสบความ
สำ� เรจ็ ในการผลติ โฟมเพอ่ื ใชท้ ำ� บรรจภุ ณั ฑอ์ าหารโดยใชก้ รดซติ รกิ เปน็ สารขยายตวั ชว่ ยใหโ้ ฟมนไี้ ดร้ บั การ
ยอมรับว่าเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมากกว่าโฟมธรรมดาท่ัวไป เพราะการเผาหรือการหลอมด้วยความร้อน
ไม่เกดิ ก๊าซดงั เชน่ การใช้สารขยายตัวแบบเดมิ
7.3 ให้บริษัทผู้ผลิตโฟมท่ียังใช้สาร CFC ในการผลิต มีมาตรการป้องกันไม่ให้สาร CFC ลอย
เข้าสูช่ นั้ บรรยากาศในระหวา่ งกระบวนการผลติ
7.4 ให้รัฐก่อสร้างเตาเผาพิเศษซึ่งสามารถท�ำลายโฟมและขยะบางชนิดได้หมด รวมทั้งสามารถ
ควบคมุ ไมใ่ ห้สาร CFC หรือกา๊ ซพษิ อนื่ ๆ ท่เี กดิ จากการเผาโฟมและขยะหลุดลอยไปสบู่ รรยากาศได้
7.5 ให้น�ำโฟมที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยพยายามรักษาสภาพโฟมให้ดีไม่ให้ช�ำรุดเสียหาย ซึ่ง
จะสามารถนำ� กลบั มาใชง้ านได้หลายคร้งั
7.6 ใหผ้ ทู้ ใี่ ชโ้ ฟมไมท่ ง้ิ โฟมไวต้ ามพน้ื ดนิ หรอื ทง้ิ ลงในแมน่ า้ํ ลำ� คลองตา่ งๆ ควรทงิ้ ลงในถงั ขยะเพอ่ื
รอใหห้ นว่ ยงานทอ้ งถิ่นมาเก็บขนไปก�ำจัด
7.7 ให้หลีกเลี่ยงการใช้โฟม หันมาใช้วัสดุอื่นท่ีเน่าเปื่อยและย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติแทน
เช่น น�ำกระดาษมาใช้เป็นวัสดุกันกระแทกส�ำหรับอุปกรณ์ต่างๆ เป็นวัสดุในการจัดนิทรรศการ โฆษณา
ประชาสัมพันธ์และจัดเวที น�ำใบตองและหยวกกล้วยมาใช้เป็นวัสดุตบแต่งเวที ใช้ผลิตกระทงในเทศกาล
ลอยกระทง ใช้ผลติ เปน็ พวงหรดี เปน็ ต้น
8. ก�ำหนดข้อควรระวังในการใช้สารเคมี
จากการแยกประเภทสารเคมตี ามลกั ษณะอนั ตรายของสารเคมแี ตล่ ะชนดิ นำ� มาสเู่ รอ่ื งขอ้ ควรระวงั
จากการใช้สารเคมจี ะไดก้ ลา่ วถงึ วธิ ีการจัดเก็บ สถานทีท่ ใ่ี ชใ้ นการจดั เก็บ รวมทัง้ รายการสารเคมีทไี่ มค่ วร
จัดเก็บร่วมกัน การปฏิบัติตามรายละเอียดท่ีปรากฏในเอกสารข้อมูลความปลอดภัยน้ันถือเป็นการจัดการ
สารเคมีท่ีเหมาะสมส�ำหรับสารแต่ละชนิด โดยเม่ือทราบคุณสมบัติของสาร ก็สามารถก�ำหนดการจัดเก็บ
สารเคมใี นเบือ้ งตน้ ไดด้ งั น้ี (ศศิธร สรรพ่อคา้ , 2550)
8.1 สารไวไฟ (Flammable Materials) หมายถึง สารที่ลุกติดไฟได้ง่ายในสภาพอุณหภูมิและ
ความดันปกติ ตวั อย่างของสารเหล่าน้ี ได้แก่ ผงละเอยี ดของโลหะ ฟอสฟอรสั ของเหลวทีม่ จี ุดวาบไฟต่าํ
กว่า 30 องศาเซลเซยี ส และกา๊ ซไวไฟตา่ งๆ
วิธีการเก็บสารไวไฟควรเก็บในท่ีเย็น อากาศถ่ายเทได้และอยู่ห่างจากแหล่งจุดติดไฟ เช่น
ความร้อน หรือประกายไฟ เก็บแยกจากสารออกซิไดส์ สารที่ลุกติดไฟเองได้ สารที่ระเบิดได้ และสาร
ที่ท�ำปฏิกิริยากับอากาศหรือความช้ืนและให้ความร้อนออกมาจ�ำนวนมาก ภาชนะที่เก็บต้องมีฝาปิดแน่น
ไมใ่ ห้อากาศเขา้ ได้ รวมทั้งพ้ืนทท่ี เี่ ก็บสารน้นั ควรตอ่ สายไฟลงในดนิ เพื่อลดไฟฟ้าสถติ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้