Page 77 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 77
สารเคมใี นชวี ติ ประจ�ำวันและสงิ่ แวดล้อม 5-67
1.2 การเผยแพร่ความรู้และปรับปรุงการศึกษา เผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกบั อนั ตรายของสารพษิ การ
ป้องกัน และการใช้สารเคมีท่ีเป็นพิษด้วยความปลอดภัยแก่บุคคลท่ัวไป และมีการพัฒนาการศึกษาวิจัย
เกี่ยวกับสารพิษ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบด�ำเนินการ ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงอตุ สาหกรรม และกรมควบคุมมลพิษ
2. การก�ำหนดมาตรการทางกฎหมาย
มาตรการทางกฎหมายเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมและแก้ไขปัญหาสารเคมีเป็นพิษ
ในสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การควบคมุ เกย่ี วกบั การใชส้ ารเคมเี ปน็ พษิ การสง่ั เขา้ และการจำ� หนา่ ยสารเคมเี ปน็ พษิ
ต่างๆ หากปราศจากกฎหมายควบคุม การสั่งเข้าและจ�ำหน่ายสารเป็นพิษจะเป็นไปอย่างเสรี มีการใช้
สารเคมีเป็นพิษในปริมาณที่ไม่จ�ำกัด ท�ำให้มีสารเคมีเป็นพิษตกค้างในส่ิงแวดล้อมเป็นจ�ำนวนมากและ
ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่างๆ ตามมา ฉะนน้ั จงึ จ�ำเป็นอยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งมีกฎหมายสำ� หรบั การควบคุมดังกลา่ ว
ในประเทศไทยกฎหมายท่ีใช้ในเรื่องนี้คือพระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ ซึ่งมีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ในการควบคุมและใช้ พรบ. ดังกล่าวอยู่ 3 หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
อตุ สาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุข รวมถงึ การก�ำหนดนโยบายของประเทศในการด�ำเนนิ การควบคุม
ปอ้ งกันอนั ตรายจากสารพษิ โดยการปฏบิ ัติดงั นี้
2.1 ปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบยี บปฏบิ ตั ิ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ กฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การควบคมุ ตดิ ตาม
การนำ� เขา้ การขนสง่ การใช้ การผลติ และการกำ� จดั กากของเสยี ของสารพษิ และของเสยี จากกระบวนการผลติ
โดยมหี นว่ ยราชการตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ ไดแ้ ก่ กรมวชิ าการเกษตร กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคมุ มลพษิ และคณะกรรมการควบคมุ วัตถมุ พี ษิ
2.2 การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ ไดม้ ีการศกึ ษาผลกระทบของสารพิษทมี่ ีตอ่ สุขภาพอนามัย
การรวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลกระทบ โดยมสี ว่ นราชการทเี่ กย่ี วขอ้ งรว่ มดำ� เนนิ การ คอื กรมวชิ าการเกษตร
กรมอนามยั กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคุมมลพิษ
2.3 การก�ำหนดมาตรฐานสารพิษ ก�ำหนดมาตรฐานสารพิษตกค้างในผลิตภัณฑ์ท่ีใช้สารพิษ
ในกระบวนการผลิตหรือการบรรจุ หน่วยราชการที่ด�ำเนินการ ได้แก่ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อตุ สาหกรรม
3. การใช้อุปกรณ์หรือเครื่องป้องกันและแก้ไขอันตรายจากสารพิษส่วนบุคคล
การได้รับสารเคมีผ่านเข้าทางร่างกายโดยตรงเป็นส่ิงที่เกิดข้ึนได้ง่ายมาก โดยเฉพาะบุคคลท่ีมี
ความเสี่ยงสูง ได้แก่ เกษตรกร และคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม ฉะน้ันวิธีง่ายที่สุดท่ีสามารถป้องกัน
ตวั เองจากอนั ตรายของสารเคมเี ปน็ พษิ หรอื ไดร้ บั อนั ตรายนอ้ ยทสี่ ดุ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมเี ครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์
ปอ้ งกนั ตวั เองในขณะทำ� งาน เชน่ เกษตรกรทท่ี ำ� งานพน่ สารกำ� จดั พวกแมลงตา่ งๆ หากไมม่ อี ปุ กรณป์ อ้ งกนั
ตวั เองแลว้ อาจไดร้ บั อนั ตรายโดยตรง โดยสารเคมเี ปน็ พษิ อาจเขา้ รา่ งกายไดท้ างปาก ทางหายใจ หรอื การ
สัมผัส