Page 73 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 73
สารเคมีในชีวิตประจ�ำวันและสิง่ แวดล้อม 5-63
หีบเหล็กขนาดใหญ่และน�ำไปฝงั ดนิ ซง่ึ มีโอกาสท่ีสารกัมมันตรงั สนี ้ันจะหลดุ ออกมาเน่ืองจากการผพุ งั ของ
หีบเหลก็ เมอ่ื เวลาผา่ นไป
3. สารเคมีจากแหล่งเกษตรกรรม
สารเคมที ใี่ ชใ้ นดา้ นการเกษตรมกั เปน็ สารพษิ ทใ่ี ชเ้ พอื่ ควบคมุ ปอ้ งกนั หรอื กำ� จดั ศตั รพู ชื เชน่ พวก
แมลงตา่ งๆ เชอื้ รา วชั พชื และสารเคมที ใ่ี ชเ้ พอื่ เพมิ่ ผลผลติ ทางดา้ นการเกษตร เชน่ ปยุ๋ เคมี สารกำ� จดั ศตั รู
พืชท่มี นษุ ย์สังเคราะหท์ เ่ี ป็นท่รี ูจ้ ักกนั ดี ไดแ้ ก่ ดดี ที ี (DDT) และเอนดรนิ (Endrin) ดีดีทีเปน็ สารก�ำจัด
แมลงท่ีมีพิษสูงต่อมนุษย์และสัตว์ที่เป็นอาหารของมนุษย์ จึงมีการส่ังห้ามหรือจ�ำกัดการใช้อย่างเข้มงวด
กวดขันมาก
ผลิตภัณฑข์ องสารสงั เคราะห์ที่วางขายอยใู่ นตลาดรวมกันมีมากกว่า 3,000 ชนิด สารเคมีเหล่านี้
บางชนดิ เป็นสารอนิ ทรียท์ ี่สลายตัวยาก (Persistent Organic Pullutants: POPs) ในสง่ิ แวดลอ้ ม กอ่ ให้
เกิดมลพษิ ในส่งิ แวดล้อมยาวนานและกวา้ งขวาง
ปจั จบุ นั โครงการสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Environmental Programme:
UNEP) ได้จัดทำ� บญั ชีสารอินทรียท์ สี่ ลายตวั ยากจำ� นวน 12 ชนิด เปน็ สารป้องกันกำ� จดั ศตั รูพชื 9 ชนิด
อีก 3 ชนิด เป็นสารเคมีทีเ่ กิดจากกระบวนการทางอตุ สาหกรรม สารก�ำจดั ศตั รูพืช 9 ชนดิ ในบัญชี POPs
นั้น 7 ชนิด เป็นสารท่ีเคยมีการน�ำเข้ามาใช้ในประเทศไทย แต่ปัจจุบันได้ถูกห้ามใช้แล้ว ส่วนสารก�ำจัด
ศตั รูพืชอกี 2 ชนดิ ไมเ่ คยมีการน�ำมาใช้ในประเทศไทย
สารป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชในบัญชี POPs จ�ำนวน 9 ชนิด เป็นสารอินทรีย์ที่มีคลอรีนเป็นส่วน
ประกอบใชเ้ ปน็ สารก�ำจัดแมลงศตั รพู ืชในดนิ เชน่ มด ปลวก และตก๊ั แตน เปน็ สารมีพษิ ต่อปลา ปู ก้งุ นก
และสัตว์เลือดอุ่นต่างๆ รวมทั้งจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในดิน สามารถสะสมได้ในไขมันของสัตว์ และถ่ายทอด
ในหว่ งโซอ่ าหารได้ เช่น อลั ดริน (Aldrin) และไดแอลคริน (Dialkrin) บางชนดิ เป็นสารก่อมะเรง็ เชน่
คลอร์เดน (Chlordane) เฮกซาคลอโรเบนซีน (Hexachlorobenzene) เฮปตาคลอร์ (Heptachlor) และ
โทซาเฟน (Tozaphane) หรอื เกดิ ความผดิ ปกตติ อ่ อวยั วะภายในของมนษุ ย์ โดยเฉพาะตบั ไต ตอ่ มหมวกไต
และเป็นสารก่อมะเรง็ ในเม็ดเลือด
กรมวชิ าการเกษตรของประเทศไทยไดพ้ จิ ารณาสารทอี่ าจเสย่ี งภยั ตอ่ การใชม้ ากเกนิ ความจำ� เปน็
โดยใช้หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาหา้ มใช้ 9 ประการดงั น้ี
1) มีพิษต่อมนุษยแ์ ละสัตว์สูงอยา่ งเฉยี บพลนั
2) มีพษิ เรอ้ื รังเปน็ ผลรา้ ยต่อมนุษยแ์ ละสัตวท์ ดลอง เช่น การก่อให้เกดิ มะเรง็
3) มีความคงทนในสภาพแวดลอ้ ม สลายตัวยาก
4) มพี ษิ ตกค้างสะสมสามารถถ่ายทอดได้ในหว่ งโซ่อาหาร
5) สารพษิ ตกคา้ งในผลผลิตทางการเกษตรสูง และบ่อยครง้ั อาจมผี ลกระทบต่อผบู้ ริโภค
6) มีสารเจอื ปนที่เปน็ พษิ
7) เป็นอนั ตรายอยา่ งรุนแรงตอ่ พชื และสตั ว์ท่มี ปี ระโยชน์
8) มีการหา้ มใช้ในประเทศทพี่ ัฒนาแลว้
9) มสี ารชนิดอน่ื ใช้ทดแทนได้ดีและไม่มีอันตรายสูง