Page 70 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 70

5-60 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและสงิ่ แวดล้อมเพอื่ ชีวิต
อาหารดว้ ย นอกจากนนั้ ไดออกซนิ ยงั เกดิ ไดจ้ ากการฟอกสกี ระดาษใหข้ าว ดงั นน้ั การนำ� กระดาษไปใชเ้ ปน็
ผลิตภัณฑบ์ รรจุอาหาร เช่น กล่องบรรจุนมจึงต้องท�ำการเคลือบกระดาษด้วยแผ่นพลาสติกบางใสหลายๆ
ชน้ั เพอ่ื ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นของไดออกซนิ สอู่ าหาร และเมอ่ื สงิ่ เหลา่ นเี้ ปน็ ขยะกเ็ ทา่ กบั การเปดิ โอกาสใหม้ ี
สารไดออกซินเขา้ มาสะสมในสิ่งแวดลอ้ มดว้ ย

            ไดออกซนิ เปน็ สารพษิ ระยะยาวทน่ี า่ กลวั จากการศกึ ษาของนกั วทิ ยาศาสตรพ์ บวา่ ไดออกซนิ
เป็นสารท่ีมีส่วนร่วมในการก่อมะเร็ง โดยมีบทบาทในการกระตุ้นเซลล์มะเร็งที่หลบซ่อนอยู่ในร่างกายให้
แสดงตัวและเพิ่มปริมาณมากขึ้น และยังท�ำให้สัตว์ทดลองที่ตั้งครรภ์มีจ�ำนวนลูกสัตว์ท่ีเกิดลดน้อยลง
ลกู สตั ว์พิการหรอื เกิดการแท้งได้

            กรณีตัวอยา่ งของสารไดออกซนิ ในประเทศไทยเกิดขึ้นทจ่ี ังหวดั ขอนแก่น เม่อื ปี พ.ศ. 2541
คือ การปล่อยนํ้าเสียของโรงงานผลิตกระดาษซึ่งใช้คลอรีนเป็นสารฟอกขาวลงสู่แม่น้ํา ส่งผลให้เกิดการ
ฆา่ สตั วน์ าํ้ จำ� นวนมากไดม้ กี ารตรวจพบสารไดออกซนิ ปนเปอ้ื นจำ� นวนมาก และมขี อ้ มลู ทไี่ มเ่ ปน็ ทางการวา่
มีการสั่งไม่ฟ้องโรงงานที่เป็นต้นเหตุ ด้วยเหตุผลว่าหน่วยงานท่ีฟ้องไม่ใช้เจ้าของแม่น้ําไม่ใช่ผู้เสียหาย
โดยตรง จงึ ท�ำให้มีเหตุการณท์ ำ� นองเดียวกนั เกดิ ขึน้ อกี ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน่ และจงั หวดั อน่ื ๆ

            มกี รณีตัวอย่างอกี กรณที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั สารไดออกซนิ คือ ในปี พ.ศ. 2542 บรษิ ทั เวอรเ์ คสต์
(Verkest) ของประเทศเบลเยียมผลิตไขมนั สัตวป์ นเปื้อนไดออกซนิ ส่งใหบ้ รษิ ัทผลติ อาหารสัตว์สบิ แหง่ ใน
เบลเยย่ี ม สองแหง่ ในเนเธอรแ์ ลนด์ และฝรงั่ เศส ทง้ั นเี้ นอ่ื งจากความเขา้ ใจผดิ ของคนงานทไี่ ดน้ ำ� สารละลาย
ทด่ี คู ลา้ ยไขมนั สเี หลอื งทถ่ี กู ถา่ ยออกมาจากอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ขนาดใหญ่ ใสร่ วมเขา้ ไปกบั ไขมนั พชื ในการผลติ
อาหารสตั ว์ ท�ำใหอ้ าหารสตั ว์ชุดนนั้ มกี ารปนเปื้อนของไดออกซนิ ในปริมาณสูงถงึ 800 เท่าของมาตรฐาน
ที่องค์การอนามยั โลกกำ� หนดไว้ มีผลให้ห้างสรรพสนิ คา้ ใหญๆ่ ในประเทศไทยต้องกวาดเอาช็อกโกแลตท่ี
ส่งมาจากเบลเย่ียมออกจากชั้นวางของเป็นจ�ำนวนมาก เน่ืองจากสารไดออกซินสามารถถ่ายทอดมาตาม
ระบบของหว่ งโซอ่ าหารได้

            1.1.3	 ขยะที่เป็นสารอนินทรีย์ สารอนินทรีย์ หมายถึง สารจากส่ิงไม่มีชีวิต ได้แก่ โลหะ
และแก้ว ถึงแม้จะสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้แต่ก็ท�ำให้เกิดปัญหาในการแยกจัดเก็บ บางชนิดเป็นสาร
อันตราย เช่น กากแบตเตอรี่ ถ่านไฟฉายท่ีหมดอายุการใช้งานแล้วถูกท้ิงเป็นขยะเพิ่มจ�ำนวนสารพิษให้
สงิ่ แวดลอ้ ม สารเคมที ร่ี ว่ั ไหลออกมาจากกากแบตเตอร่ี และถา่ นไฟฉายทห่ี มดอายกุ ารใชง้ านนน้ั มสี ว่ นผสม
ของโลหะหนักซึง่ เป็นสารอนนิ ทรีย์ เช่น ตะกัว่ โครเมย่ี ม แคดเม่ียม ปรอท โดยท่ีรา่ งกายมนุษยส์ ามารถ
รบั และสะสมสารเหลา่ นไี้ ว้ ทำ� ใหเ้ กดิ อาการผดิ ปกตทิ เ่ี ปน็ อนั ตราย ตงั้ แตม่ อี าการเลอื ดออก ปวดทอ้ งอยา่ งแรง
ปัสสาวะไมอ่ อก หรอื มีเลือดปนออกมากบั ปสั สาวะ จนถงึ ขนั้ เสยี ชวี ิตได้

            การปนเปอ้ื นสารตะกวั่ ในดนิ สงู อาจทำ� ใหผ้ ทู้ อี่ ยใู่ นบรเิ วณนนั้ มสี ารตะกว่ั ในเลอื ดสงู โดยเฉพาะ
เด็กๆ ท่ีมักมีพฤติกรรมเล่นกับดินและดินติดตามมือ น่าจะเป็นช่องทางส�ำคัญท�ำให้ตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย
ทางปากได้ นอกจากน้ีพืชผักบางชนิดที่ปลูกในดินท่ีปนเปื้อน เช่น ใบโหระพา ก็จะมีระดับตะก่ัวสูงด้วย
จึงนา่ จะมีผลต่อการท่ีสารตะก่วั จะเข้าสู่ร่างกายทางอาหารไดด้ ้วย

            สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้มีสารพิษตะกั่วในดินคือการท้ิงกากแบตเตอร่ีที่ใช้แล้ว แบตเตอรี่เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้กนั อยา่ งกวา้ งขวางทั้งในอุตสาหกรรมและในชีวิตประจ�ำวัน ท่ีเห็นได้ชัดเจนคือถ่านไฟฉาย
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75