Page 71 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 71
สารเคมีในชวี ติ ประจ�ำวนั และส่ิงแวดลอ้ ม 5-61
ทใี่ ชก้ บั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ในบา้ นเรอื นโดยทวั่ ไป แบตเตอรรี่ ถยนต์ รวมทงั้ อปุ กรณว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละอตุ สาหกรรม
นอกจากนนี้ บั แตว่ ทิ ยแุ ละโทรศพั ทม์ อื ถอื ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ ประจำ� วนั และนยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย
อัตราการใช้ถ่านไฟฉายชนิดนิเกิลแคดเมียม (Nicd) ซึ่งสามารถอัดไฟใหม่ได้ก็มีปริมาณเพ่ิมข้ึนกว่าเดิม
หลายรอ้ ยเทา่ เมอ่ื แบตเตอรหี่ มดอายกุ ารใชง้ าน ผใู้ ชจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งทง้ิ ไป หากแบตเตอรท่ี ท่ี งิ้ ไปถกู กำ� จดั หรอื
ทำ� ลายอยา่ งไมถ่ กู วธิ ี อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพรา่ งกายได้ ความรนุ แรงของ
ปัญหาเหลา่ นสี้ ัมพนั ธก์ บั ปริมาณการใชข้ องแบตเตอรีท่ ี่เพ่ิมขน้ึ รวมท้ังการไมม่ มี าตรการในการกำ� จดั หรอื
ป้องกนั
1.2 สารเคมีในนํ้าท้ิงจากชุมชน ในชมุ ชนที่มีผ้อู ยูอ่ าศยั จ�ำนวนมากนอกจากมีการท้งิ ขยะแลว้ ยงั
มกี ารทง้ิ นาํ้ จากการอปุ โภคและบรโิ ภค โดยเฉพาะนา้ํ ทง้ิ จากการทำ� ความสะอาดเสอ้ื ผา้ และของใช้ เนอื่ งจาก
ในกจิ กรรมดงั กลา่ วตอ้ งใช้สารผงซกั ฟอกทม่ี ีสารฟอสเฟตเป็นสว่ นประกอบสำ� คญั สารฟอสเฟตเม่อื ถูกทง้ิ
ลงในแหล่งนํ้าธรรมชาติจะไปช่วยกระตุ้นให้พืชน้ําเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากฟอสเฟตเป็นสารที่
พืชใช้ในการเจริญเติบโตได้ดี เม่ือพืชนํ้าเติบโตจ�ำนวนมากก็ตายและทับถมกันเกิดการเปื่อยเน่ามีผลให้
ปรมิ าณออกซเิ จนในนาํ้ ลดลงเกดิ เปน็ ภาวะนา้ํ เสยี มผี ลใหส้ ตั วน์ า้ํ ขาดออกซเิ จนและตายไปเปน็ จำ� นวนมาก
มีผลกระทบกบั การขาดแคลนอาหารจากสัตวน์ ํา้ หรอื ประชาชนตอ้ งซอื้ ปลาในราคาที่แพงมากขึ้น
2. สารเคมีจากแหล่งอุตสาหกรรม
อตุ สาหกรรมเป็นแหล่งปล่อยสารเคมีหลายชนดิ สูส่ ิง่ แวดล้อม ท�ำใหเ้ กิดมลภาวะทง้ั ในอากาศ นํ้า
และดิน สารมลภาวะที่จะกล่าวถงึ ได้แก่ ฝ่นุ ละออง ฝนกรด ตวั ท�ำละลาย โลหะหนกั และกากกัมมันตรงั สี
2.1 ฝุ่นละออง เกิดจากการสกึ กร่อน การเล่ือย การเจาะ การขดั ไมว่ า่ จะเปน็ วสั ดุท่ีเปน็ ไมห้ รอื
เหลก็ ในกระบวนการทางอตุ สาหกรรมรว่ มกบั ควนั พษิ ของเชอื้ เพลงิ รถยนตส์ งิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามมาคอื ละอองผง
จำ� นวนมากทปี่ ลวิ สบู่ รรยากาศ จากการทฝี่ นุ่ ละอองในอากาศสามารถมผี ลตอ่ ระบบตา่ งๆ ของรา่ งกาย เชน่
ทำ� ให้เกดิ อาการไอ จาม มนี ้าํ มูกจนถึงเพม่ิ ความเส่ยี งตอ่ การเปน็ โรคหลอดลมอกั เสบและมะเร็งของระบบ
ทางเดนิ หายใจ องคก์ ารอนามยั โลกจงึ กำ� หนดคา่ มาตรฐานไวว้ า่ อากาศควรจะมคี า่ เฉลย่ี ความเขม้ ขน้ รายปี
ของฝุ่นละอองท่ีมีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ไม่เกิน 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และไม่เกิน 25
ไมโครกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตรในเวลา 24 ชวั่ โมง
มีรายงานวจิ ัยจากมหาวทิ ยาลัยวอชงิ ตัน สหรัฐอเมริกาได้ศึกษาความสัมพนั ธข์ องปรมิ าณมลพิษ
ในอากาศ ซึ่งได้แก่ ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนท่ีเกิดจากการก่อสร้างและการเผาไม้ของ
เชอื้ เพลงิ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละไนโตรเจนไดออกไซด์ พบวา่ ชาวอเมรกิ นั ที่ไดร้ บั ฝนุ่ ละอองดงั กลา่ วเป็น
เวลานานมีระดับของตัวชี้วัดการอักเสบในกระแสเลือดมีค่าสูงขึ้น เป็นจุดเริ่มต้นของการท�ำให้หลอดเลือด
ตบี แขง็ กลไกทเ่ี ปน็ พษิ ในอากาศมสี ว่ นกระตนุ้ การอกั เสบในรา่ งกาย ซง่ึ อาจเกดิ จากการทมี่ ลพษิ ทำ� ใหเ้ กดิ
ความไม่สมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติ แลว้ แพร่กระจายไปทว่ั รา่ งกายผา่ นกระแสเลอื ด และยังมกี รณี
ตวั อยา่ งของปญั หาฝนุ่ ละอองในประเทศไทยพบวา่ มสี ารกอ่ มะเรง็ ในกรงุ เทพสงู กวา่ มาตรฐานสากลทกุ ระดบั
ความสูง ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ นักวิจัยจากหน่วยวิจัยชีวธรณีเคมีและการเปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อม
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า สารก่อมะเร็งพีเอเอช (PAHs) เป็น