Page 26 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 26

6-16 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่งิ แวดล้อมเพื่อชวี ติ
       ห่างไกลออกไปมากกว่าน้ีในทิศทางของกลุ่มดาวผมเบเรนีช (Coma Berenices) หรือโคมา

(Coma) มกี ระจกุ กาแล็กซใี หญช่ ือ่ กระจุกกาแลก็ ซโี คมา ซง่ึ มเี ส้นผ่านศนู ย์กลางอย่างน้อย 10 ลา้ นปแี สง
และอยู่ห่างประมาณ 375 ล้านปีแสง

       กระจุกกาแล็กซีมีขนาดใหญ่ขึ้น เพราะประกอบด้วยกระจุกกาแล็กซีหลายแห่ง จึงมีช่ือเรียกอีก
อย่างหน่ึงว่า กระจุกของกาแล็กซีหรือซูเปอร์คลัสเตอร์ (Supercluster) กระจุกของกระจุกกาแล็กซี
เพื่อนบ้าน (Local Supercluster) ประกอบด้วยกระจุกกาแล็กซีเวอร์โก และกระจุกกาแล็กซีเพ่ือนบ้าน
นอกจากนี้ยังมีที่ว่างอย่างมหาศาลระหว่างกาแล็กซีและระหว่างกระจุกกาแล็กซี หากพิจารณาซูเปอร์
คลสั เตอรห์ รอื กระจกุ ของกระจกุ กาแลก็ ซกี จ็ ะมที วี่ า่ งหรอื อวกาศมากมายมหาศาล และหลายๆ กระจกุ ของ
กระจุกกาแล็กซีประกอบกันขึน้ เป็นเอกภพ

                  ภาพที่ 6.9 กระจุกของกระจุกกาแล็กซีซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของเอกภพ

3. 	 กาแล็กซีทางช้างเผือก

       ถา้ เรามองดทู อ้ งฟา้ ในคนื ทท่ี อ้ งฟา้ ปลอดโปรง่ ปราศจากแสงไฟฟา้ และแสงจนั ทร์ จะมโี อกาสเหน็
ทางฝา้ ๆ พาดผา่ นทอ้ งฟา้ เปน็ ทางยาวจากขอบฟา้ ดา้ นหนงึ่ ผา่ นขนึ้ ไปสงู แลว้ ลงไปยงั ขอบฟา้ อกี ดา้ นหนง่ึ
ทางฝ้าๆ ที่ไม่ใช่เมฆนี้เรียกว่า ทางช้างเผือก (Milky way) ซ่ึงมีชื่อเรียกหลายอย่างเช่น แม่น้ําคงคา
ในสวรรค์ หรอื ทางนา้ํ นม เปน็ ตน้ ดาวทงั้ หมดในทางชา้ งเผอื กและดาวอนื่ ทสี่ ามารถมองเหน็ บนฟา้ ในเวลา
กลางคนื รวมทงั้ ดวงอาทติ ยแ์ ละบรวิ าร ลว้ นอยใู่ นระบบเดยี วกนั ทเี่ รยี กวา่ กาแล็กซีทางช้างเผือก หากสอ่ ง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31