Page 27 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 27

เอกภพและระบบสุรยิ ะ 6-17
ดดู ว้ ยกลอ้ งสอ่ งทางไกลหรอื กลอ้ งโทรทรรศนจ์ ะเหน็ ดาวฤกษม์ ากขนึ้ ในบรเิ วณนน้ั ดาวฤกษท์ งั้ หมดในทาง
ช้างเผือกมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าแสนล้านดวง มากกว่าท่ีตามนุษย์มองเห็นได้ โดยดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยู่ใน
ทิศทางของทางช้างเผอื ก และเนื่องจากระบบสุริยะเปน็ สว่ นหนึง่ ของกาแล็กซนี ี้ กาแล็กซีทางชา้ งเผอื กจึง
มอี กี ชอ่ื หนึ่งว่า กาแล็กซีของเรา

       กาแล็กซีทางช้างเผือกมีขนาดใหญ่มาก ระยะจากขอบหนึ่งผ่านศูนย์กลางไปยังอีกขอบหนึ่งของ
กาแล็กซีของเรายาวประมาณ 1 แสนปีแสง (1 ปีแสงคือระยะทางที่แสงเดินทางนาน 1 ปี เท่ากับ 9.46
ลา้ นลา้ นกโิ ลเมตร) ถา้ ดจู ากดา้ นบนหรอื เหนอื ระนาบทางชา้ งเผอื กจะเหน็ เปน็ รปู กงั หนั หรอื ควงสวา่ นมคี าน
มบี รเิ วณกลางทเี่ รยี กวา่ นวิ เคลยี สสวา่ งมาก และมแี ขน 5 แขนโคง้ ออกมาจากบรเิ วณกลาง และโคง้ ไปทาง
เดยี วกนั แขนเหลา่ นม้ี ชี อ่ื เรยี กตามกลมุ่ ดาวทแ่ี ขนปรากฏ เชน่ แขนนายพราน (Orion arm) แขนเปอรเ์ ซอสุ
(Perseus arm) ระบบสุริยะไม่ได้อยู่ท่ีศูนย์กลางของกาแล็กซี แต่อยู่ที่แขนนายพราน โดยอยู่ห่าง
จุดศูนยก์ ลางประมาณ 30,000 ปแี สง

       ถ้าดูกาแล็กซีของเราจากด้านข้างจะเห็นรอยด�ำของฝุ่นเป็นทางยาวตลอดบริเวณส่วนในของ
กาแล็กซี รอยด�ำของฝุ่นมีความกว้างประมาณ 400 ปีแสง ส่วนแขนมีความหนาประมาณ 2,000 ปีแสง
รปู รา่ งกาแลก็ ซขี องเราจากดา้ นขา้ งจะคลา้ ยจานขา้ ว 2 จานประกบกนั ภายในทรงกลมรอบจานมดี าวฤกษ์
อายมุ ากอยู่กันเป็นกระจกุ เรียกวา่ กระจุกดาวทรงกลม ซึง่ อยกู่ ระจัดกระจายหา่ งๆ กัน

           แขนปอรเ์ ชอสุ  ระบบสรุ ิยะ
แขนนายพราน                 นวิ เคลยี ส

                                        30,000 ปีแสง
                                         400 ปีแสง
                                        2,000 ปีแสง

                          กระจกุ ดาวทรงกลม

            ภาพที่ 6.10 กาแล็กซีทางช้างเผือก หรือกาแล็กซีของเรา มองจากด้านบน (ซ้าย)
	 และมองจากด้านข้าง (ขวา)

4. กาแล็กซีเพื่อนบ้าน

       กาแลก็ ซที อ่ี ยใู่ กลก้ าแลก็ ซขี องเราทสี่ ดุ คอื กาแลก็ ซแี มกเจลแลนใหญ่ โดยอยหู่ า่ ง 163,000 ปแี สง
เปน็ กาแลก็ ซที ม่ี องเหน็ ดว้ ยตาเปลา่ ไดจ้ ากโลกโดยเฉพาะจากประเทศในซกี โลกใต้ ถดั ออกไปเปน็ กาแลก็ ซี
แมกเจลแลนเล็ก ซ่ึงอยู่ห่าง 195,600 ปีแสง เห็นได้ด้วยตาเปล่าจากประเทศในซีกโลกใต้เช่นเดียวกัน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32