Page 30 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 30

8-20 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกับสอื่ มวลชน
            3.1 พัฒนาการของวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียง เร่ิมต้นจากเทคโนโลยีซ่ึงใช้คล่ืน

ความถี่วิทยุ (radio waves) การพัฒนาวิทยุเร่ิมจากการส่งโทรเลขไร้สาย หรือท่ีเรียกว่าวิทยุโทรเลข
ซงึ่ แซมมวล มอรส์ (Samual Morse) ไดป้ ระดษิ ฐค์ ดิ คน้ สำ� เรจ็ ในชว่ งทศวรรษ 1830-1840 และววิ ฒั นาการ
เป็นส่อื กระจายเสยี งในเวลาต่อมา

            พ.ศ. 2428 นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวเยอรมนั ตะวนั ตก ชอื่ วา่ เฮริ ตซ์ (Hertz) ไดค้ ดิ และประดษิ ฐ์
เครอื่ งมอื ทส่ี ามารถนำ� คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ในอากาศมาใชป้ ระโยชนใ์ นการสอื่ สารเปน็ ผลสำ� เรจ็ ความสำ� เรจ็ ใน
ครั้งน้ีท�ำให้ชื่อของเขาถูกยกย่องให้เป็นช่ือเรียกหน่วยความถี่ของสัญญาณวิทยุ จากน้ันนักวิทยาศาสตร์
ชาวอติ าลี มารโ์ คนี (Guglielmo Marconi) ไดค้ น้ ควา้ สรา้ งวทิ ยจุ นประสบความสำ� เรจ็ เปน็ วทิ ยทุ ส่ี ง่ สญั ญาณ
แบบคลน่ื ความถท่ี ไี่ ม่ตอ้ งใช้สาย โดยได้น�ำแนวคดิ ของเฮิรตซ์มาใชเ้ ป็นแนวทางในการดำ� เนนิ การ

            พ.ศ. 2443 นักบวชชาวบราซลิ ชื่อ โรเบอรโ์ ต แลนเดล เดอ มวั รา (Roberto Landell de
Moura) ได้ท�ำการส่งสัญญาณเสียงมนุษย์โดยไม่ต้องผ่านสายน�ำสัญญาณได้ หนังสือพิมพ์ Jornal do
Comercio ฉบับวันที่ 10 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2443 กล่าวว่ามวั ราไดท้ ำ� การทดลองในวนั ที่ 3 มถิ นุ ายน พ.ศ.
2443 ตอ่ หน้านักขา่ วและกงสุลแห่งสหราชอาณาจกั ร ในเมืองเซาเปาโล ประเทศบราซิล เป็นการสง่ เสียง
ผ่านคลื่นวิทยุในระยะทางห่างกันประมาณ 8 กิโลเมตร จากอัลโต เดอ ซานตานา ไปยังถนนพอลิสตา
(Highfields Amateur Radio Club, 2013) หลงั จากการทดลองนน้ั หนง่ึ ปี มวั ราไดร้ บั สทิ ธบิ ตั รจากรฐั บาล
บราซลิ เขาทราบดวี า่ สงิ่ ทเี่ ขาประดษิ ฐข์ นึ้ นน้ั มคี ณุ คา่ อยา่ งมาก หลงั จากนนั้ สเี่ ดอื น เขาจงึ เดนิ ทางออกจาก
ประเทศบราซิลไปสู่ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อหวังจดสิทธิบัตร แต่ในสหรัฐอเมริกาก็มีการทดลองการส่ง
วทิ ยใุ น พ.ศ. 2443 เช่นเดยี วกัน โดยนายเฟสเซนเดน (Reginald Fessenden) ทท่ี �ำการสง่ เสยี งครง้ั แรก
ข้ามระยะทาง 1.6 กโิ ลเมตร (Fessenden, 1908)

            ในช่วงปลายศตวรรษท่ี 19 และต้นศตวรรษที่ 20 เป็นช่วงที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีการ
สอื่ สารอยา่ งมาก โดยเฉพาะการพฒั นาเทคโนโลยกี ารกระจายเสยี ง หลงั จากทเ่ี ครอ่ื งรบั วทิ ยเุ ครอ่ื งแรกของ
โลกทส่ี ามารถรบั สญั ญาณไดห้ ลายคลน่ื ความถไ่ี ดถ้ อื กำ� เนดิ ขนึ้ ใน พ.ศ. 2446 ขา่ วเกย่ี วกบั สงครามระหวา่ ง
รสั เซยี กบั ญป่ี นุ่ ถกู เสนอผา่ นวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ในระยะแรกมกี ารนำ� เสนอข่าวทม่ี เี นื้อหาสั้นๆ ทใ่ี ช้เวลานอ้ ย
ต่อมาเม่ือวันท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2449 นายเฟสเซนเดนได้ท�ำรายการกระจายเสียงรายการแรกท่ีมีท้ัง
บทน�ำรายการ ดนตรีที่บรรเลงสดๆ และดนตรีท่ีเล่นจากเครื่องอัดเสียง ต่อจากน้ันก็มีการตั้งสถานีวิทยุ
ในหลายประเทศ ซงึ่ ชว่ ยใหป้ ระชาชนชาวโลกสามารถตดิ ตามขอ้ มลู จากบา้ นเกดิ และภมู ภิ าคอนื่ ๆ ของโลก
(VOVWorld, 2553)

            3.2 	พัฒนาการของโทรทัศน์ การเริม่ ต้นของโทรทศั นเ์ กิดข้ึนใน พ.ศ. 2416 จากการทนี่ าย
เลโอนาร์ด เมย์ (Leonard May) พนกั งานโทรเลขชาวไอริช ได้คน้ พบสารเซเลเนยี มท่ีมคี ุณสมบัติในการ
เปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ท�ำให้เกิดความคิดในการเปลี่ยนสัญญาณภาพให้เป็นสัญญาณ
ไฟฟ้า ต่อมาใน พ.ศ. 2427 นายพอล นิพคาว (Paul Nipkow) นักฟิสิกสช์ าวเยอรมนั ได้คดิ คน้ หลกั การ
สแกนภาพทใี่ ชร้ ะบบจานหมนุ แบบกลไกเปน็ ครงั้ แรก และใน พ.ศ. 2454 นายแคมเบล สวนิ ตนั (Campbell
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35