Page 29 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 29

สื่อใหม่ 8-19

                               ภาพที่ 8.4 ตัวอักษร ไฮโรกลิฟฟิก

ที่มา: 	https://en.wikipedia.org/wiki/Egyptian_hieroglyphs#/media/File:Hieroglyphs_from_the_tomb_of_Seti_I.jpg.

       พัฒนาการของหนังสือพิมพ์คร้ังแรก เร่ิมเมื่อก่อนคริสต์ศักราช 59 ปี แอ็คตา ไดเออนา (Acta
Diurna) หรอื แอค็ ตา ปอ็ ปปลู ี (Acta Populi) นบั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของหนงั สอื พมิ พ์ เกดิ ขน้ึ ในยคุ จเู ลยี ส ซซี าร์
(Julius Caesar) ใชก้ ารเขยี นขอ้ ความลงบนกระดานขนาดใหญ่ นำ� ไปตง้ั ในแหลง่ ชมุ นมุ ชน เหมอื นประกาศ
ของทางราชการ แตม่ ลี กั ษณะเปน็ กงึ่ ทางการและกง่ึ ทวั่ ไป สว่ นทเี่ ปน็ การแจง้ ขา่ วทางการกจ็ ะเปน็ การแจง้
ขา่ วสารเกยี่ วกบั เรอื่ งราวของรฐั บาล โครงการดา้ นการทหาร การพจิ ารณาคดี การประชมุ สภา ฯลฯ ใหแ้ ก่
ชาวโรมนั ในกรงุ โรม จงึ นบั ไดว้ า่ Acta Diurna มบี ทบาทหนา้ ทเ่ี ชน่ เดยี วกบั หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั ในยคุ ตอ่ มา
(J387: Media History, 2019)

       รูปแบบการพมิ พบ์ นกระดาษเร่ิมขน้ึ ในประเทศจีนราว ค.ศ. 220 เปน็ การพิมพ์บลอ็ กไม้ (wood-
block printing) หลงั จากนนั้ ประมาณ ค.ศ. 1041 ไดม้ กี ารประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งพมิ พแ์ บบมอื หมนุ ขน้ึ ในประเทศจนี
และแพร่หลายไปทั่วเอเชียตะวันออก (Vainker, 1990) ต่อมาใน พ.ศ. 1982 โยฮัน กูเทนเบิร์ก
(Johannes Gutenberg) สามารถประดษิ ฐแ์ ทน่ พมิ พ์ (printing press) ทใี่ ชก้ บั ตวั เรยี งพมิ พโ์ ลหะไดส้ ำ� เรจ็
แท่นพิมพ์ของกูเทนเบิร์กนับเป็นการปฏิวัติทางความรู้ท่ีส�ำคัญที่สุด เพราะเทคโนโลยีการพิมพ์ท�ำให้ผลิต
หนงั สือไดจ้ ำ� นวนมากและมรี าคาถูกลง (J387: Media History, 2019)

       3. 	การส่ือสารยุคส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ในทน่ี จี้ ะกลา่ วถงึ พฒั นาการของวทิ ยกุ ระจายเสยี ง โทรทศั น์
และโทรศัพท์ ตามล�ำดบั
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34