Page 33 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 33

ส่ือใหม่ 8-23
สนับสนุนงานวิจัยทางด้านทหารที่มีผลมาจากสงครามเย็นระหว่างกลุ่มประเทศในค่ายคอมมิวนิสต์กับ
ค่ายเสรีประชาธิปไตย ซ่ึงสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศผู้น�ำในค่ายเสรีประชาธิปไตยที่ต้องพัฒนาเทคโนโลยี
ดา้ นการทหารให้ลำ้� หน้ากวา่ สหภาพโซเวียต

       การพัฒนาอารพ์ าเน็ตไดด้ �ำเนินการมาเปน็ ล�ำดบั และได้มกี ารเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรถ์ งึ กนั เปน็ ครง้ั
แรกเมอื่ พ.ศ. 2512 โดยใช้มนิ คิ อมพวิ เตอรร์ ่นุ 316 ของฮันนเี วลล์ เปน็ เครื่องคอมพวิ เตอร์แมข่ ่าย (host)
และมีเครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ใี่ ชร้ ะบบปฏิบัติการตา่ งกันอยู่ในสถานที่ 4 แหง่ คอื มหาวิทยาลยั แคลฟิ อรเ์ นีย
ทลี่ อสแอนเจลสิ  สถาบนั วจิ ยั สแตนฟอรด์ มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี ทซ่ี านตา บารบ์ ารา และมหาวทิ ยาลยั
ยทู าห์ อารพ์ าเนต็ เปน็ เครอื ขา่ ยทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ อยา่ งมากทำ� ใหม้ หี นว่ ยงานอกี หลายแหง่ เชอ่ื มตอ่ เพมิ่
มากขนึ้ ท�ำใหอ้ ารพ์ าเนต็ กลายเป็นเครือข่ายทีใ่ ช้งานไดจ้ รงิ

       หนว่ ยงานอารพ์ ามกี ารปรบั ปรงุ ใหมใ่ น พ.ศ. 2515 และเรยี กชอื่ ใหมว่ า่ ดารพ์ า (Defense Advanced
Research Project Agency: DARPA) ตอ่ มาไดโ้ อนความรับผิดชอบอาร์พาเน็ตให้กับหน่วยการสือ่ สาร
ของกองทัพใน พ.ศ. 2518 เครือข่ายอาร์พาเน็ตนั้นได้มีแผนการขยายเครือข่ายและเปิดการเชื่อมตอ่ กบั
เครอื ขา่ ยอนื่ โดยใชเ้ กณฑว์ ธิ หี รอื โพรโทคอล (protocol) ชอ่ื คาหน์ -เซอรฟ์ (Kahn-Cerf Protocol) ตาม
ชอ่ื ของผู้ออกแบบคือ บอ็ บ คาหน์ (Bob Kahn) และวนิ ตัน เซอร์ฟ (Vinton Cerf) ซ่งึ ก็คือ โพรโทคอล
ทีซพี ี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol: TCP/IP) ท่ีรู้จักกันในปัจจุบัน และ
ไดก้ �ำหนดใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอรท์ กุ เครอ่ื งทต่ี อ้ งการตอ่ อนิ เทอร์เนต็ ใช้โพรโทคอลน้ใี น พ.ศ. 2526

       พ.ศ. 2526 อารพ์ าเนต็ ไดแ้ บง่ ออกเปน็ สองเครอื ขา่ ยคอื เครอื ขา่ ยวจิ ยั (ARPAnet) และเครอื ขา่ ย
ของกองทัพ (MILNET) โดยในช่วงต้นนั้นเครือข่ายทั้งสองเป็นเครือข่ายแกนหลักส�ำคัญภายในทวีป
อเมริกาเหนอื ตอ่ มาหนว่ ยงานหลกั ของสหรัฐทม่ี เี ครือขา่ ยที่ใชโ้ พรโทคอลทีซพี ี/ไอพี (TCP/IP) เชื่อมต่อ
เขา้ มา เชน่ เอน็ เอฟเอสเนต็ (NFSNet) และเครอื ขา่ ยขององคก์ ารบรหิ ารการบนิ และอวกาศแหง่ ชาตสิ หรฐั ฯ
หรือองค์การนาซา (National Aeronautics and Space Administration: NASA) ท�ำให้มีการปรับ
เปลีย่ นช่อื อีก จนกระทั่งกลายเปน็ อินเทอรเ์ น็ตในปจั จบุ ัน

       ส�ำหรับประเทศไทย เริ่มเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ พ.ศ. 2532 โดยมหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์เช่ือมโยงเพื่อส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กับประเทศออสเตรเลีย ท�ำให้ระบบไปรษณีย์
อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ชอื่ มกบั อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ครง้ั แรก ในชว่ งระยะเวลาเดยี วกนั กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้มีโครงการที่จะเชื่อมโยง
เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรร์ ะหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ขน้ึ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรร์ ะหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย
กค็ อ่ ยๆ พฒั นาขน้ึ และแพรห่ ลายออกมาสกู่ ารใชง้ านของประชาชนท่วั ไป

       ท้ังนี้ สหภาพโทรคมนาคมนานาชาติ (International Telecommunication Union: ITU)
รายงานเมอ่ื พ.ศ. 2562 ใหเ้ หน็ ถึงพัฒนาการเทคโนโลยีสารสารเทศและการสือ่ สารทวั่ โลกระหว่าง พ.ศ.
2544–2561 ดังภาพที่ 8.6
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38