Page 58 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 58

8-48 ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับสือ่ มวลชน
       1) 	ลขิ สทิ ธริ์ ายการท่ี OTT นำ� มาเผยแพร่และไดร้ บั ความนยิ มสว่ นใหญเ่ ปน็ รายการต่างประเทศ

ซึ่งมีท้ังผู้ให้บริการอย่างถูกกฎหมายโดยการลงทุนซ้ือลิขสิทธิ์เน้ือหารายการ ไม่ว่าจะเป็นรายการทาง
โทรทัศน์หรือภาพยนตร์ เพื่อมารวบรวมให้บริการต่อสมาชิกอย่างถูกต้อง แต่ก็มีผู้ให้บริการส่วนหนึ่งที่
รวบรวมเนอ้ื หามาเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ นต็ โดยไมซ่ อื้ หรอื ขออนญุ าตจากเจา้ ของลขิ สทิ ธ์ิ และนำ� มาใหบ้ รกิ าร
อีกต่อหน่ึง ท�ำให้เกิดความไม่เป็นธรรมระหว่างผู้ให้บริการ ส่งผลให้ผู้ผลิตเนื้อหารายการขาดแรงจูงใจใน
การผลติ เนอ้ื หาทด่ี อี อกสตู่ ลาด เพราะตอ้ งแบกรบั ตน้ ทนุ การผลติ และไมไ่ ดร้ บั ผลตอบแทนจากเนอื้ หาทต่ี น
ไดล้ งทนุ ไปอยา่ งเพยี งพอ จงึ ควรแกไ้ ขปญั หาโดยการใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ าร OTT ตอ้ งลงทะเบยี นแสดงตวั ตนหรอื
รบั ใบอนญุ าตอยา่ งในประเทศสหรัฐอเมรกิ า สหราชอาณาจักร เกาหลีใตแ้ ละสิงคโปร์

       2) 	การเปดิ ใหบ้ รกิ าร OTT จากตา่ งประเทศ นบั วา่ เปน็ การเปดิ ทางใหผ้ ปู้ ระกอบการตา่ งประเทศ
เขา้ มาครอบครองตลาดสอ่ื ในประเทศไทย แตส่ ว่ นแบง่ รายไดท้ ง้ั จากคา่ โฆษณาและคา่ บรกิ ารสมาชกิ กลาย
เปน็ ของบรษิ ทั ตา่ งชาติ ขณะนป้ี ระเทศไทยยงั ไมส่ ามารถจดั เกบ็ ภาษจี ากผปู้ ระกอบการหลกั ของ OTT ได้
ท�ำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบทางการค้าและเป็นการสูญเสียรายได้ของประเทศ จึงควรมีมาตรการ
แก้ไขปัญหาโดยการทบทวนแก้ไขกฎหมายเพ่ือเรียกเก็บภาษีจากผู้ให้บริการภายนอกประเทศเพื่อให้
ครอบคลุมการใหบ้ ริการรูปแบบใหม่ๆ ทมี่ าพรอ้ มเทคโนโลยี เช่น OTT

       3) 	การเปิดรับเนื้อหารายการและภาพยนตร์ต่างประเทศมีอิทธิพลกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ดังน้ัน
บางประเทศจึงมีการก�ำหนดสัดส่วนของเน้ือหารายการภายในประเทศ เพื่อเป็นการสนับสนุนผู้ให้บริการ
OTT ภายในประเทศ ภาครฐั จงึ ควรมมี าตรการจงู ใจ เพราะเรอื่ งนมี้ ผี ลกระทบถงึ ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม
ในระยะยาว

       4) 	เน่อื งจาก OTT เป็นการใหบ้ รกิ ารผา่ นโครงข่ายหรือแพลตฟอร์มอนิ เทอร์เนต็ เปน็ หลัก เมอ่ื มี
ผใู้ ชบ้ รกิ ารจำ� นวนมากขน้ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาการแยง่ กนั ใชส้ ญั ญาณ ทำ� ใหอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ชา้ ลง ทำ� ใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ าร
อินเทอร์เน็ตกลายเป็นผู้รับผิดชอบปัญหาที่เกิดขึ้น ในขณะที่ผู้ให้บริการ OTT ไม่ต้องลงทุนติดต้ังโครง
ขา่ ย ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมสี ว่ นในการบรหิ ารจดั การโครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ รวมทงั้ ไมต่ อ้ งลงทนุ ท�ำสถานโี ทรทศั น์
หรอื โครงขา่ ยโทรทศั นเ์ พอ่ื ใหบ้ รกิ ารดว้ ยเชน่ กนั จงึ ทำ� ใหบ้ รกิ าร OTT มคี วามไดเ้ ปรยี บในเรอื่ งตน้ ทนุ การ
ใหบ้ รกิ ารเมอ่ื เทยี บกับบริการสอื่ ประเภทอืน่ อย่างมาก ดังน้นั ในอนาคตน่าจะมกี ารก�ำหนดราคาหรอื เลือก
ปฏิบัติต่อผู้ให้บริการ OTT ให้แตกต่างจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วไป โดยสนับสนุนให้ผู้เป็นเจ้าของ
โครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ มอี ำ� นาจและรบั ผดิ ชอบในการจดั การบรกิ ารและเนอ้ื หาทเ่ี ขา้ ใชโ้ ครงขา่ ยของตนไดโ้ ดย
อสิ ระ หลกั ความเปน็ กลางในการบรหิ ารโครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ (Net Neutrality) ดงั กลา่ วนเ้ี ปน็ แนวทางการ
แกไ้ ขปัญหาความเสียเปรยี บของผู้ใหบ้ รกิ ารโครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ในประเทศสหรัฐอเมริกา

       วันที่ 24 เมษายน 2560 กสทช. ได้พิจารณาก�ำหนดให้การให้บริการกระจายเสียงหรือบริการ
โทรทศั นผ์ า่ นโครงขา่ ยอนื่ ทไ่ี มใ่ ชโ่ ครงขา่ ยกระจายเสยี งหรอื โทรทศั น์ (OTT) เปน็ กจิ การกระจายเสยี งหรอื
กจิ การโทรทศั น์ และจะใหม้ กี ารขนึ้ ทะเบยี นผใู้ หบ้ รกิ ารเพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การกำ� กบั ดแู ลเนอ้ื หา ทำ� ใหเ้ กดิ กระแส
คดั คา้ นจากผปู้ ระกอบกจิ การ OTT ซง่ึ ผเู้ ขยี นมคี วามเหน็ วา่ แนวคดิ การกำ� กบั ดแู ลนไ้ี มเ่ หมาะสมในการนำ�
มาใช้กับส่ือใหม่ เนื่องจากคุณลักษณะของสื่อใหม่จะไม่ใช่ส่ือรวมศูนย์ (decentralized) ซึ่งยากต่อการ
ควบคุมแบบสื่อด้ังเดิม ผู้ก�ำหนดนโยบายควรพิจารณาโดยรอบคอบให้เหมาะสมกับธรรมชาติของส่ือใหม่
และทิศทางการพัฒนาของเทคโนโลยภี ายใตห้ ลกั สิทธเิ สรภี าพในการส่ือสารของประชาชน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63