Page 57 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 57
ส่ือใหม่ 8-47
4) สนับสนุนให้มีการส�ำรวจความนิยม (Ratings) ของผู้ให้บริการโทรทัศน์ดิจิทัลที่ออกอากาศ
ผา่ นโครงข่ายอนิ เทอร์เนต็ เพ่ือนำ� ข้อมูลการส�ำรวจความนยิ มไปใช้อ้างองิ เพ่อื หารายได้ไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรม
นอกจากน้ัน กสทช. ยงั เหน็ ชอบในหลักการทจ่ี ะจดั ประมลู คล่ืน 700 MHz คร้ังใหมส่ ำ� หรับใชใ้ น
กจิ การโทรคมนาคมและเยยี วยาผปู้ ระกอบการทวี ดี จิ ทิ ลั ทปี่ จั จบุ นั ใชง้ านในยา่ นคลน่ื นอ้ี ยู่ โดยเฉพาะการนำ�
เงินประมูลคลื่นคร้ังใหม่มาชดเชยให้เจ้าของช่องโทรทัศน์ดิจิทัล เพื่อไม่ต้องจ่ายเงินประมูลงวดที่เหลือ
รวมถงึ มีการเปิดให้คืนใบอนุญาตช่องดจิ ิทลั ได้
2. แนวโน้มของโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย
การเปลย่ี นผา่ นไปสโู่ ทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั สง่ ผลใหเ้ กดิ ความหลากหลายของเนอื้ หารายการ ประชาชน
ร้อยละ 34.8 เช่ือว่าการเปลย่ี นผ่านไปสโู่ ทรทศั นใ์ นระบบดิจทิ ลั จะส่งผลใหผ้ ู้ประกอบการชอ่ งรายการผลิต
เนื้อหารายการท่ีมีคุณภาพเพ่ิมมากข้ึน (ส�ำนักงาน กสทช., 2561ก) แต่การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ
เทคโนโลยีในการรับชมโทรทัศน์ส่งผลต่ออุตสาหกรรมและตลาดสื่อดั้งเดิมท้ังกิจการโทรทัศน์และวิทยุ
กระจายเสียงอย่างมากมาย เพราะผู้ชมมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้วยช่องทางใหม่ๆ มากข้ึน เช่น
ส่ือออนไลน์ ซึ่งสื่อใหม่เหล่านี้ยังมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการรับชมบริการโทรทัศน์ในปัจจุบันอย่างชัดเจน
อีกด้วย
บริษัท Ericsson Consumer Lab (2017) ได้ติดตามการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการรับชม
โทรทศั นต์ ง้ั แต่ พ.ศ. 2553 พบวา่ ผชู้ มมีทศั นคติและมุมมองต่อการรบั ชมโทรทัศนเ์ ปลีย่ นแปลงไป โดย
เกอื บรอ้ ยละ 60 นยิ มรบั ชมรายการโทรทศั นต์ ามความตอ้ งการของตนเอง มากกวก่ ารชมรายการโทรทศั น์
ตามผังรายการปกติ เม่ือพฤติกรรมการรับชมรายการโทรทัศน์ของผู้ชมแปรเปลี่ยนไปเช่นนี้ ย่อมกระทบ
ถึงการให้บริการฟรีทีวีหรือทีวีดิจิทัลอย่างมีนัยส�ำคัญท่ัวโลก ส�ำหรับในประเทศไทยน้ัน คาดว่าจ�ำนวน
ช่องทีวีดิจิทัลจะลดลง เน่ืองจากจะมีบางช่องท่ีไม่สามารถแข่งขันเชิงธุรกิจได้ ประกอบกับการที่ กสทช.
เปิดช่องให้มกี ารคืนใบอนญุ าตได้
อย่างไรก็ตาม ในโลกแห่งการแข่งขันอย่างรุนแรงของสื่อโทรทัศน์และวิทยุ ผู้ที่จะอยู่รอดได้ต้อง
เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการน�ำเสนอเน้ือหาท่ีดึงดูดใจผู้ชมผู้ฟัง รวมท้ังต้องมีช่องทางการน�ำเสนอที่
หลากหลาย เช่น น�ำเสนอเน้ือหารายการควบคู่ไปกับช่องทางออนไลน์ ผสมผสานกับการหารายได้ผ่าน
กจิ กรรมและการสร้างกระแสต่างๆ เพอื่ เรยี กความสนใจจากผชู้ ม
3. ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มของการให้บริการแพร่ภาพและเสียงผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
แนวโนม้ การเตบิ โตของ OTT เปน็ ไปในทศิ ทางบวก ซง่ึ ตรงขา้ มกบั ทวี ดี จิ ทิ ลั เนอ่ื งจากเทคโนโลยี
ทเี่ ชอื่ มตอ่ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ไดร้ วดเรว็ สามารถสง่ เนอื้ หารายการถงึ ผชู้ มไดง้ า่ ย การใหบ้ รกิ ารมรี าคาถกู
และเขา้ กบั รสนยิ มของคนรนุ่ ใหมซ่ ง่ึ มพี ฤตกิ รรมคนุ้ ชนิ กบั เทคโนโลยกี ารสอื่ สารสมยั ใหม่ แตก่ ารใหบ้ รกิ าร
OTT ในประเทศไทยกพ็ บกบั ปญั หาและอปุ สรรคบางประการ ตวั อยา่ งเชน่ (รมดิ า จรนิ ทพิ ยพ์ ทิ กั ษ,์ 2560)