Page 20 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 20

12-10 พื้นฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร

                       ภาพท่ี 12.5 ประตมิ ากรรมพระกฤษณะยกเขาโควรรธณะ

ที่มา: ทรงธรรม ปานสกุณ.

       ต่อมาเม่ือช่างมีความชานาญมากข้ึนก็ได้ยกเลิกวิธีการใช้แผ่นหลัง หันมาใช้วงโค้งรูปเกือกม้า
แทน ในการยึดลาตัวของประติมากรรม รวมไปถึงแขนและส่ิงต่างๆ ที่ถืออยู่ในมือ เช่น ประติมากรรม 8
กร หรือ รูปพระหริหระ ซึ่งทาเป็นกรอบรูปสเี่ หลี่ยมผืนผ้า บางคร้ังการถือสงิ่ ของทอี่ ยู่ในมือ ช่างสามารถ
แกะสลักข้ึนมาโดยใช้ส่ิงของเหล่าน้ันเป็นเครื่องยึดได้ เช่น ตะบอง ขวาน หรือคันไถ ดังน้ัน วงโค้งรูป
เกือกม้าดังกล่าวเริ่มหมดความสาคัญ บางครั้งการสลักชายผ้าที่นุ่งด้านหน้าก็สลักให้ยาวลงมาจนถึงพนื้
ก็สามารถใหเ้ ป็นโครงสรา้ งในการยดึ ประตมิ ากรรมไดอ้ ีกทางหน่งึ อกี ดว้ ย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25