Page 57 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 57
ประติมากรรม 12-47
2.2.6 ศิลปะแบบบายน ศิลปะแบบน้ีมีเด่นชัดในพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ปรากฏ
ประตมิ ากรรมแบบใหม่ๆ ลกั ษณะโดยเฉพาะของศลิ ปะแบบน้ี คือ ใบหน้าที่ย้ิมของประตมิ ากรรม
พระพุทธรูปแบบบายน พระเกศาเปน็ ผมถักอยา่ งคร่าวๆ หรือเปน็ ขมวดท่ีสลกั ลึกลงไปหรือ
นูนขึ้นมาเล็กน้อย พระเกตุมาลามีขนาดรูปร่างแตกต่างกัน ครองจีวรห่อเฉียง มีชายจีวรรูปสามเหล่ียม
สลักนูนขน้ึ มาเล็กน้อยหรือสลกั ลึกลงไป พาดอยเู่ หนอื พระอังสาซา้ ยหรอื ไมก่ ็ไมม่ ีชายจวี ร พระกรรณสลกั
อย่างครา่ ว แสดงให้เหน็ ว่ายังคงมกี ารเลียนแบบศิลปะยคุ เดิมๆ อยู่ แผน่ เบอ้ื งหลังซึ่งแสดงผา้ จวี รระหวา่ ง
พระกรซ้ายและพระองค์ยังคงมีปรากฏอยู่เสมอ ขอบจีวรมักสลักอยู่เหนือข้อพระหัตถ์ซ้าย และมีช้ินส่วน
ของหินเหลืออยู่ตั้งแต่พระศอ (คอ) ลงไปถึงพระโสณี (ตะโพก) เพ่ือแสดงให้เห็นถึงด้านนอกของผ้าจวี ร
บางครง้ั ชายจีวรเป็นแผ่นก็ปรากฏขึน้ เหนอื ข้อพระหตั ถซ์ ้ายตามแบบเก่าด้วย
ภาพที่ 12.47 พระพทุ ธรูปนาคปรก ศิลปะแบบบายน
ท่ีมา: ทรงธรรม ปานสกณุ .