Page 44 - การอ่านภาษาไทย
P. 44

๖-34 การอ่านภาษาไทย

เรื่องที่ ๖.๒.๓	 	
ฉันท์ กลอน

๑. ฉันท์

       ฉนั ท์ เปน็ รปู แบบรอ้ ยกรอง ทไี่ ทยไดแ้ บบอยา่ งมาจากต�ำราฉนั ท์ ชอื่ คัมภีร์วุตโตทัย ซง่ึ เดมิ เขยี น
ไว้เป็นภาษาบาลีสันสกฤตมีรวม ๑๐๘ ฉันท์ แบ่งเป็น ฉันท์วรรณพฤติ และฉันท์มาตราพฤติ ฉันท์
วรรณพฤติ เป็นฉันท์แม่แบบในการแต่งฉันท์ของไทย เน้นการบังคับครุลหุ ส่วนฉันท์มาตราพฤติ	
นับมาตราเป็นเกณฑ์ ไม่นับพยางค์หรือค�ำอย่างฉันท์วรรณพฤติท�ำให้ฉันท์มาตราพฤติไม่เป็นที่นิยมของ
กวไี ทย ในการรับแบบแผนฉนั ทจ์ ากคัมภีร์วุตโตทยั ไทยเราน�ำมาคดั เลือกและดดั แปลงใชเ้ ฉพาะที่เห็นว่า
เหมาะสมกับลักษณะของภาษาไทย และเติมสัมผัสในคณะฉันท์ เพื่อให้ไพเราะฟังรื่นหูมากกว่าฉันท์ตาม
แบบแผนเดิม ซ่งึ บงั คับแตค่ รลุ หุเป็นสำ� คญั

       สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ทรงรับอาราธนาจากพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั
เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระนพิ นธฉ์ นั ทไ์ วเ้ ปน็ ตวั อยา่ งครบทกุ แบบ ใหจ้ ารกึ ไวท้ ว่ี ดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม
และในยุคหลังๆ ต่อมา มผี ู้คดิ ประดษิ ฐ์รูปแบบฉนั ทเ์ พมิ่ ขึน้ เช่น น.ม.ส.ประดิษฐ์ สยามมณีฉันท์ นายสภุ ร
ผลชีวิน นายถวลั ย์ มงคลรัตน์ ประดิษฐ์ฉนั ทห์ ลายรปู แบบ

       กวีไทยร้อยกรองวรรณกรรมคำ� ฉันท์ไวห้ ลายเรอื่ ง เชน่ มทั รีคำ� ฉนั ท์ อลิ ราชคำ� ฉนั ท์ มัทนะพาธา
คำ� ฉนั ท์ สามคั คีเภทคำ� ฉันท์ โดยกวนี �ำกาพยม์ าแตง่ สลบั กับฉันท์ โดยเฉพาะสามัคคีเภทคำ� ฉันท์ ของชติ
บรุ ทัต ใช้ฉันทใ์ นการแต่งถึง ๒๐ ชนิด

       เนอื่ งจาก ฉันท์ เปน็ รปู แบบรอ้ ยกรองทบี่ งั คบั ครุ ลหุ ผอู้ า่ นฉนั ทจ์ งึ ตอ้ งมคี วามรเู้ รอ่ื ง ครุ ลหุ และ
มคี วามแม่นยำ� ในคณะฉนั ท์จงึ จะอ่านไดถ้ กู ตอ้ ง

       ในเอกสารการสอนน้ี จะเลือกอธิบายฉันท์บางชนิดที่ใช้กันมากในวรรณกรรมร้อยกรองพอเป็น
ตวั อย่างเทา่ นั้น

       ๑.๑ มาณวกฉันท์ ๘
            คณะ ตามบาลีถือว่ามีบาทละ ๘ ค�ำ มีครุน�ำหน้าและปิดท้ายวรรค มีลหุ ๒ ค�ำ อยู่กลาง

วรรค และ ๘ บาทเปน็ ๑ คาถา แต่ตามแบบของไทยถอื วา่ บาทหนึ่งมี ๒ วรรค วรรคละ ๔ คำ� และ ๔
บาท เป็น ๑ บท

            สัมผัส ดูตามแผนผัง
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49