Page 49 - การอ่านภาษาไทย
P. 49

การอา่ นร้อยกรอง ๖-39

๒. กลอน

       กลอน เป็นรูปแบบรอ้ ยกรองทไ่ี ม่บงั คบั ครุ ลหุ แต่บงั คบั จ�ำนวนคำ� สัมผัส และเสยี งวรรณยกุ ต์
ท้ายวรรค เป็นรูปแบบร้อยกรองท่ีมีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และแพร่หลายมากในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ตราบจนถึงปจั จุบัน

       ๒.๑ ชนิดของกลอน
            กลอน แบง่ ตามลกั ษณะการแตง่ ไดด้ ังน้ี
                ๑) กลอนสุภาพ แยกยอ่ ยไดเ้ ปน็
                     กลอนแปด ใชเ้ ปน็ กลอนอา่ น เชน่ นิทาน นิราศ เพลงยาวใชเ้ ป็นกลอนขบั หรือ

ร้อง เชน่ สกั วา ดอกสรอ้ ย เสภา บทละคร บทเพลงไทย เพลงพน้ื เมือง ซง่ึ บางชนดิ มีขอ้ บังคับพิเศษ เชน่
ค�ำขึน้ ตน้ คำ� ลงทา้ ยตา่ งกันออกไป

                     กลอนเจด็ สว่ นมากใชแ้ ตง่ กลอนส�ำหรบั ขบั รอ้ ง เชน่ บทละคร และอาจผสมดว้ ย
กลอนแปด ตามความเหมาะสม

                     กลอนหก สว่ นมากใชแ้ ตง่ เปน็ คำ� รอ้ ง เชน่ บทเพลงตา่ งๆ และใชแ้ ตง่ กลอนอา่ น
คอื นทิ าน เช่น กนกนคร

                ๒) กลอนกล แยกย่อยออกไปอีกเปน็ จ�ำนวนมากกวา่ ๘๐ ชนิด มชี ่อื เรียกตา่ งๆ กนั
ซึ่งในบทเรยี นน้จี ะไมก่ ล่าวถึง เพราะมีทีพ่ บไมม่ าก ผู้สนใจอาจศึกษาไดจ้ ากหนงั สอื กลบทศริ ิวิบุลกิตต์ิ

       ๒.๒ รูปแบบของกลอน โดยทว่ั ไป
            ๑) 	คณะ บทหนงึ่ มี ๒ บาท คอื บาทเอกและบาทโท บาทละ ๒ วรรค รวม ๔ วรรค วรรคละ

๖ ค�ำ เรียกวา่ กลอนหก วรรคละ ๗ ค�ำ เรียกว่า กลอนเจ็ด วรรคละ ๘ คำ� เรียกว่า กลอนแปด หรือ
กลอนสุภาพซ่งึ อาจมีค�ำได้วรรคละ ๘ ถึง ๑๑ ค�ำ แต่ค�ำทเ่ี กินต้องเป็นคำ� เสียงสั้น รวบเสียงค�ำลงได้เหลอื
๘ หรือ ๙ ค�ำ

            ๒) 	สัมผัส มีสัมผสั นอก และสัมผัสใน
                ก. 	สัมผัสนอก บงั คบั ตำ� แหนง่ และเสยี งวรรณยุกต์ ดงั นี้
                     สัมผสั สลบั ในกลอนแปด คำ� สดุ ท้ายของวรรคที่ ๑ และเชอ่ื มสลบั ค�ำที่ ๑ หรอื

๒ หรือ ๓ หรอื ๕ ของวรรคที่ ๒
                     สว่ น กลอนหก หรือกลอนเจ็ด นยิ มสัมผัสคำ� ท่ี ๒ และใช้เสียงวรรณยุกต์ไดท้ ้ัง

๕ เสยี ง เช่น แกล้ง แรง้ แต่หา้ มสัมผสั คำ� เดียวกนั เช่น สรรค-์ สรรพ์ หรอื คำ� ทใี่ ช้อักษรเดยี วกัน หรอื ตา่ ง
อกั ษร แตม่ ีเสยี งเดียวกัน ผสมสระและตัวสะกดมาตราเดียวกัน เชน่ ทณั ฑ์-ธนั ว์ ลาน-ลาญ เป็นตน้

                     สมั ผสั รบั หา้ มเสยี งสามญั จะใชเ้ สยี งวรรณยกุ ตอ์ นื่ ใด เสยี งใดกไ็ ด้ แตน่ ยิ มเสยี ง
จัตวาเป็นสว่ นมาก

                     สัมผัสรอง นิยมเสียงสามัญ ห้ามเสียงวรรณยุกต์เสียงเดียวกันสัมผัสรับในบท
เดยี วกนั และหา้ มเสียงจัตวา นอกนัน้ ใช้ได	้

                     สัมผสั สง่ นิยมเสยี งสามัญ หา้ มเสียงจัตวา และห้ามค�ำที่มีเสียงสระเดยี วกนั กบั
คำ� ส่งในวรรคกอ่ น
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54