Page 52 - การอ่านภาษาไทย
P. 52
๖-42 การอา่ นภาษาไทย
นอกจากน้ี ยงั มกี ารน�ำกลอนไปใชป้ ระโยชน์ในลกั ษณะต่างๆ เชน่
๑) กลอนคำ� รอ้ ง
ก. กลอนเพลง อาจแต่งข้ึนใหม่ หรือตัดตอนจากวรรณคดีมรดกน�ำไปบรรจุ
ทำ� นอง ขบั รอ้ งเปน็ เพลงเข้ากับดนตรี ซึ่งทั้งกลอนแปด กลอนเจ็ด และกลอนหก ใชแ้ ต่งเพลงได้ แตต่ ้อง
จบในบาทโท
ตัวอย่าง กลอนเพลงพระจันทร์คร่ึงซีก
ใช้กลอนแปด บางวรรคมี ๙ พยางค์
๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ๗ ๘ ๙ ๑๒ ๓ ๔ ๕๖๗๘
พระ ยา ครฑุ ได้ ส ดบั ที่ ขับ อา้ ง จึง กระ จา่ ง แจ้ง ข้อ ไม่ กงั ขา
สลดจติ คดิ เสยี ดาย สายสุดา ดังศตั รา ฟาดให้ บรรลยั ลาญ
สะทึกสะท้อน ถอนใจ อยใู่ นอก แสนวิตก ตดิ รกั สมัครสมาน
ดงั จอม สรุ ารักษ์ มัฆวาน เมือ่ กรงุ พาน ลอบโลม สุจติ รา
(เจ้าพระยาพระคลัง (หน). กากีค�ำกลอน)
ข. กลอนดอกสร้อย แตง่ ขนึ้ สำ� หรับขับร้อง นิยมแตง่ บทละ ๔ บาท หรือ ๔ คำ�
กลอน อาจใช้กลอนแปด กลอนเจด็ หรือกลอนหก หรอื ผสมกนั กลอนดอกสร้อยวรรคต้นมี ๔ คำ� เป็นคำ�
สำ� คัญของบท ๒ ค�ำ ข้ึนต้นด้วยคำ� แรกและคน่ั ด้วยคำ� เอ๋ย เช่น ดวงเอ๋ยดวงจิต แมวเอ๋ยแมวเหมียว จบ
ด้วยคำ� ว่า เอย
ตัวอย่าง บทดอกสร้อย
แมวเอย๋ แมวเหมียว รปู รา่ งประเปรียวเป็นนกั หนา
ร้องเรยี กเหมียวเหมียวเด๋ยี วกม็ า เคลา้ แข้งเคล้าขานา่ เอ็นดู
รจู้ กั เอารักเข้าต่อตงั้ ค่ําคํ่าซํ้านงั่ ระวงั หนู
ควรนบั วา่ มนั กตญั ญ ู ควรดอู ยา่ งไว้ใส่ใจ เอย
(ประชุมบทดอกสร้อยสุภาษติ )
ค. กลอนสักวา แต่งด้วยกลอนแปด ส�ำหรับขับร้องเข้าท�ำนองเพลง นิยม ๔
บาทเปน็ ๑ บท เหมอื นดอกสรอ้ ย และอาจขยายไดถ้ งึ ๘ บาท วรรคตน้ เหมอื นกลอนทวั่ ไป แตข่ น้ึ ตน้ ดว้ ย
คำ� ว่า สักวา ลงท้ายด้วย เอย สัมผัส และวรรณยุกต์ บงั คับเหมอื นกลอนท่วั ไป