Page 57 - การอ่านภาษาไทย
P. 57
การอ่านรอ้ ยกรอง ๖-47
เรื่องที่ ๖.๓.๑
องค์ประกอบของวรรณศิลป์ในร้อยกรอง
๑. ความมุ่งหมายในการอ่านร้อยกรอง
ประเทศไทยมีประวัตศิ าสตรย์ าวนานกวา่ ๗๐๐ ปี มีมรดกศลิ ปวัฒนธรรมหลากหลายสาขา รวม
ทง้ั บทรอ้ ยกรอง ตกทอดมาถงึ อนชุ นเปน็ จำ� นวนมาก กาลเวลาเปน็ เครอื่ งประกนั คณุ คา่ และแสดงใหเ้ หน็ วา่
มหาชนทกุ ยุคทกุ สมยั เหน็ ความส�ำคญั และคุณค่าของงานร้อยกรอง วรรณกรรมร้อยกรองเป็นจำ� นวนมาก
จึงมีอายุยั่งยืนผ่านกาลเวลามาจนถึงปัจจุบัน สมควรท่ีอนุชนทุกยุคทุกสมัยจะศึกษาและสืบทอดให้ยั่งยืน
ตอ่ ไป
การอา่ นศกึ ษาผลงานร้อยกรองกระทำ� ได้ ๒ วิธี คอื อ่านในใจ และอ่านออกเสียง การอา่ นในใจ
อาจก�ำหนดความมุ่งหมายไดห้ ลายประการ คือ
1. อ่านเพ่อื ความเพลิดเพลิน
2. อ่านเพ่อื ศกึ ษาหาความรู้
3. อ่านเพื่อวพิ ากษ์วิจารณ์
ศาสตราจารย์ พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้ทรงพระนิพนธ์
ความเห็นเก่ียวกบั ความมุ่งหมายในการศกึ ษาวรรณคดี ไว้ดังน้ี
“ความมุ่งหมายในการศึกษาวรรณคดี จึงไม่เพียงเป็นการแสวงหาความบันเทิงในยามว่าง
งาน แต่เป็นการปลุกตนเองให้ต่ืนข้ึนชมชีวิต ให้รู้จักชมชื่นเห็นอกเห็นใจ และเข้าใจชีวิต เล็งเห็น
ชีวิตในส่วนรวม เห็นความสัมพันธ์แห่งเหตุผลและส่วนต่าง ๆ ของชีวิต ส่ิงที่เราไม่เคยคิดนึกว่า
น่ารักน่าชม เราได้ชมจากวรรณคดี และส่ิงที่เราได้ชมนั้น เราก็รู้สึกว่าเป็นแต่เพียงส่วนหนึ่งของ
ชีวิต การอ่านวรรณคดีจึงท�ำให้เรารู้จักชีวิตจิตใจของเพื่อนมนุษย์ได้ดียิ่งขึ้น...”
ดร.วทิ ย์ ศวิ ะศรยิ านนท์ กลา่ วไวใ้ นหนงั สอื “วรรณคดวี จิ ารณ”์ เกย่ี วกบั การอา่ นศกึ ษาวรรณคดวี า่
“ผู้อ่านวรรณคดีมักมีจุดประสงค์ต่าง ๆ กัน บางคนอ่านเพ่ือความเพลิดเพลิน เป็นการพัก
สมองและฆ่าเวลาไปในตัวเมื่อว่างงาน ขณะที่อ่านก็จ�ำชื่อตัวละครและเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนช่ัวแต่
เพียงให้อ่านเรื่องเข้าใจและติดต่อกัน เพ่ือให้ออกรสสนุกชั่วเวลาท่ีอ่านนี้...บางคนก็เลือกอ่านเรื่อง
ที่ถูกกับนิสัยและอารมณ์ของตน บุคคลชนิดนี้อ่านเพ่ือเป็นการหนีชีวิตจริง ๆ ที่ตนประสบอยู่
ทุกเมื่อเช่ือวัน...นอกจากนั้น ยังมีอีกพวกหน่ึงท่ีศึกษาวรรณคดี โดยเพ่งเล็งไปในแง่เจ้าต�ำรา
(erudition) คอื เอาใจใสใ่ นภาษาและสงิ่ ทไ่ี มใ่ ครม่ คี วามสำ� คญั นกั เชน่ เวลาทเ่ี ขยี นและสงิ่ ทใ่ี หก้ ำ� เนดิ
วรรณคดีเรื่องน้ัน ตอนไหนเอามาจากชีวิตของผู้แต่งเอง ตอนไหนคิดขึ้น ฯลฯ จนไม่น�ำพาต่อ