Page 61 - การอ่านภาษาไทย
P. 61

การอา่ นรอ้ ยกรอง ๖-51

                ราชหงส์ แทนพระเจ้ากรุงสญชัย ปีกหัก แทนความแก่ชราไร้ความสามารถ กาแก
แทนขา้ ราชบรพิ าร แซ่ซ้องเข้าสาวไส้ แทนการเข้ามาท�ำร้าย เปน็ ถ้อยค�ำท่พี ระนางมทั รกี ราบทูลพระเจา้
สญชยั ใหค้ ำ� นงึ ถึงผลร้ายเม่อื ขบั ไลพ่ ระเวสสนั ดรไปจากเมือง

                ๔) พรรณนาเกินความจริง หรือกล่าวในสิ่งท่ีเป็นไปไม่ได้ เพ่ือให้ผู้อ่านคิดเห็นภาพ
และเข้าใจชดั เจน เช่น

          	 เรยี มร่ํานํ้าเนตรถว้ ม	  ถงึ พรหม
          พาหม่สู ตั วจ์ อ่ มจม	      จวบม้วย

                                                                  (โคลงกวีโบราณ)

                กลา่ วเกนิ จริง เพ่ือแสดงถึง การรา่ํ ไหเ้ พราะมคี วามทุกข์แสนสาหัส
            ข) ใช้ค�ำที่มีค่าของเสียง กวีใช้ค�ำท่ีมีค่าของเสียง ส่งให้เกิดความเสนาะไพเราะมีอรรถรส
เปน็ ถอ้ ยคำ� ทก่ี ระทบอารมณ์ โดยกวตี ระหนกั ในอตั ลกั ษณแ์ ละอจั ฉรยิ ภาพของภาษา สามารถเลอื กคำ� หรอื
ปรงุ แตง่ รอ้ ยเรยี งคำ� ใหเ้ กดิ เสยี งไพเราะ มคี วามหมายลกึ ซงึ้ มชี ว่ งเสยี งและมลี ลี าสอดคลอ้ งกบั สาระทเี่ สนอ
คำ� ทกุ ค�ำในแตล่ ะวรรคแต่ละบาท หรือแต่ละบท ประสานกนั เกิดเสยี งเสนาะ โดยใช้

                ๑) 	สมั ผสั (rhyme) ประกอบดว้ ย สมั ผสั นอกและสมั ผสั ใน คำ� ทมี่ คี า่ ของเสยี งสมบรู ณ์
คือ ค�ำทมี่ ีเสยี งไพเราะ ส่อื ความหมายชดั เจน เมือ่ ประกอบกันหลายคำ� ตามข้อบังคบั มีสมั ผัสสอดรบั เกดิ
เปน็ เสยี งประสานกนั กลมกลนื เปน็ ชว่ งเสยี งลลี าเคลอ่ื นไหว ไพเราะงดงาม ทง้ั น้ี ในการจดั สมั ผสั ตอ้ งละเวน้
สัมผัสเลอื น คือ สัมผัสสระเสียงเดียวกัน ใกล้กันหลายคำ� จนเลอะเลอื น

ตัวอย่าง  เห็นบุปผาลอยธาราน่าคว้าหยิบ แต่ไกลลิบห่างไกลคว้าไม่ถึง
	

                ๒) ช่วงเสียงหรือจังหวะ (rhythm) หมายถงึ การเคลือ่ นไหวหรือการเปล่งเสยี ง จาก
คำ� หนงึ่ ไปสอู่ กี คำ� หนงึ่ ประกอบกนั เปน็ วรรค มชี ว่ งเสยี งสอดคลอ้ งกบั ขอ้ บงั คบั ของรปู แบบทก่ี วเี ลอื ก ซง่ึ จะ
ช่วยสะท้อนสะเทือนอารมณ์ และความคดิ ของผู้อ่านได้	

                ช่วงเสียงที่ท�ำให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมและรู้สึกถึงความโกรธ ความโกรธในความรู้สึก
ทัว่ ไปน้ันก่อให้เกดิ ความพลงุ่ พลา่ นในจิตใจ บางคร้ังจึงกล่าวถึงความโกรธวา่ เดอื ด หรือไฟ ซึ่งร้อน ผู้ท่ี
โกรธจดั อาจทำ� กริ ยิ าท่เี คล่ือนไหวรวดเรว็ เชน่ ทบุ เตะ ฉีกทึ้ง กระชาก หรอื แผดเสยี งเอะอะ เกรย้ี วกราด
ซ่ึงล้วนเป็นอาการเคลื่อนไหวรวดเร็ว ดังนั้น ช่วงเสียงของร้อยกรองท่ีแสดงความโกรธก็มีจังหวะรวดเร็ว
เชน่ กนั เช่น
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66