Page 66 - การอ่านภาษาไทย
P. 66

๖-56 การอ่านภาษาไทย
       ส่วนวรรณกรรมร้อยกรองปัจจุบันท่ีเป็นบทส้ันๆ จะให้ความเพลิดเพลินเม่ือมีแก่นเร่ืองชัดเจน

เชน่ กลา่ วถึงพระคุณของแม่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ เปน็ ต้น

๓. ศึกษากลวิธีการด�ำเนินเรื่อง (Presentation)

       ๓.๑ 	 การเปดิ และปดิ เรอื่ ง ผลงานรอ้ ยกรองทเ่ี ปน็ วรรณคดมี รดก มกั จะเปดิ เรอื่ งดว้ ย การสรรเสรญิ
บ้านเมืองเนื่องจากเป็นการแสดงเกียรติภูมิของชาติ หรือแสดงความรู้คุณแผ่นดิน ส่วนการปิดเร่ืองมักจะ
เสนอสาระทสี่ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื เรอื่ ง เชน่ ความสมหวงั ของตวั ละครเอกในบทละครเรอ่ื งอเิ หนา หรอื รามเกยี รต์ิ
หรือปิดเรื่องด้วยการกล่าวถึงผู้ประพันธ์ หรือคติธรรมจากเนื้อเร่ือง ส่วนวรรณกรรมร้อยกรองปัจจุบัน
มักปดิ เร่อื งดว้ ยการสรุปความ

       ๓.๒ 		การเลือกรูปแบบ กวที ป่ี ระสบความส�ำเรจ็ ในการรอ้ ยกรองจะเลอื กรปู แบบ หรอื ฉนั ทลกั ษณ์
ทตี่ นมคี วามชำ� นาญ เชน่ กลอน โคลง ฉนั ท์ เพอื่ ใหส้ ามารถถา่ ยทอดสาระทต่ี อ้ งการเสนอไดอ้ ยา่ งมคี ณุ คา่
ประทบั ใจผอู้ า่ น และเลอื กรปู แบบรอ้ ยกรองทเ่ี หมาะสมกบั เนอื้ หาสาระทน่ี ำ� เสนอ เชน่ ใชส้ ทั ทลุ วกิ กฬี ติ ฉนั ท์
พรรณนาเรื่องท่ีสง่างาม เช่น สดุดีพระมหากษัตริย์ ใช้วสันตดิลกฉันท์ หรืออินทรวิเชียรฉันท์พรรณนา
สงิ่ ท่ีมีความงาม เช่น โบสถ์ วิหาร ราชรถ และใชก้ ลอนหก กลอนเจ็ด แตง่ บทละคร ซง่ึ จะนำ� ไปขับร้อง
และแสดงท่าเคลอื่ นไหวได้เหมาะสมกบั อากัปกริ ยิ าทตี่ ้องการ

       ๓.๓ 		เอกภาพ ไดแ้ ก่ การสรา้ งเรอ่ื งใหส้ อดคลอ้ งรอ้ ยรบั กลมกลนื เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ตลอดเรอ่ื ง
ไมส่ บั สน ชวนใหต้ ิดตามตอ่ ๆ ไป

       ๓.๔ 		ความสมจริง แม้ว่าในการด�ำเนินเร่ือง กวีอาจใช้จินตนาการวาดภาพท่ีประสงค์จะเสนอ
หรือเสนอเรื่องทีห่ ่างไกลความจรงิ หรือเรือ่ งทผี่ ู้อา่ นไม่เคยสัมผสั มาก่อน แตเ่ ม่อื อ่านแลว้ ผอู้ ่านรูส้ ึกสมจริง
โดยผู้อ่านไดร้ ับการโนม้ นา้ วจากถอ้ ยค�ำและการด�ำเนินเร่ือง ซ่งึ กวตี ้องใชอ้ จั ฉรยิ ภาพสร้างสรรค์ภาษาและ
เสนอกลวธิ ใี นการแตง่ ใหเ้ กดิ ความสมจรงิ เชน่ ขนุ แผน เปน็ ชายหนมุ่ รปู งาม มวี ชิ าคาถาอาคมเสกใบมะขาม
ให้เป็นต่อแตนได้ บุษบาในเร่ืองอิเหนาถูกปะตาระกาหลาแปลงกายให้เป็นอุณากรรณจนอิเหนาจ�ำนางไม่
ได้ ฯลฯ กวีสามารถสร้างตวั ละครดงั กลา่ วใหผ้ ้อู า่ นร้สู ึกเสมือนเป็นคนจรงิ

       ความสมจริงในวรรณกรรมร้อยกรอง เป็นคุณสมบัติส�ำคัญประการหนึ่งที่ช่วยให้ผู้อ่านได้รับ
ความเพลิดเพลินบันเทิง เพราะเป็นเคร่ืองกระตุ้นหรือเร้าให้ผู้อ่านรู้สึกเสมือนตนเองอยู่ร่วมในเหตุการณ์
หรอื มีบทบาทร่วมกบั ตัวละครในเรอื่ ง ทำ� ให้ผอู้ า่ นตดิ ตามเรอื่ งอยา่ งไม่เบื่อหน่าย

       ๓.๕ 		เจตคตหิ รอื อดุ มคตใิ นเรอ่ื ง ผอู้ า่ นตอ้ งกำ� หนดไวใ้ นใจดว้ ยวา่ วรรณกรรมรอ้ ยกรองจะงดงาม
เพียงใด ใชภ้ าษาไพเราะเพราะพริ้งสละสลวย ประทับใจเพยี งใด การดำ� เนนิ เรือ่ งจะร้อยรบั กลมกลืน ให้
อารมณส์ ะเทอื นใจ หรือให้ความเพลดิ เพลินชวนให้หลงใหลตดิ ตาม ช่ืนชมเพยี งใด แต่ถ้าผลงานนั้นมีส่วน
“ท�ำลาย” ไม่มีคณุ ลักษณะ “สร้างสรรค์” ไม่ได้ “ให้” อะไรแกผ่ ้อู ่านแล้ว กย็ อ่ มจะไมบ่ รรลคุ ณุ คา่ อนั สงู ที่
สามารถเรียกร้องความนิยมท�ำให้มหาชนทุกยุคทุกสมัยเกิดความนิยมชมช่ืนเป็นเวลาช้านาน หรือเป็น
“อมตะ” ได้

       วรรณกรรมรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเสนอเรอื่ งราวชวี ติ ของบคุ คลทเ่ี ปน็ แบบฉบบั เสมอไป
ยกเว้นมแี กน่ เรือ่ งเสนอชีวติ ของวีรบุรุษหรือเสนอเร่อื งแนวคติธรรม เชน่ โคลงยวนพ่าย เสนอตวั ละครเอก
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71