Page 12 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 12

12-2 ประวตั ิศาสตร์การเมอื งและเศรษฐกจิ ไทย

                  แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา	 ประวตั ิศาสตร์การเมอื งและเศรษฐกิจไทย
หน่วยท่ี 12 	 วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 กับการเมืองและเศรษฐกิจไทย

        

ตอนท่ี

       12.1		 การเมอื งและเศรษฐกิจในสมยั รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยทุ ธ
       12.2		 การเกิดวิกฤตเศรษฐกจิ 2540
       12.3		 การเมืองและเศรษฐกจิ ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภยั

แนวคิด

       1.	การเมืองไทยในช่วงปลายทศวรรษ 2530 เป็นช่วงส�ำคัญของการเมืองในระบบรัฐสภา และ
          เปน็ ยคุ ทนี่ กั การเมอื งในระบอบรฐั สภากลายเปน็ ชนชน้ั นำ� ทางการเมอื งทเ่ี ขา้ มาควบคมุ จดั การ
          เศรษฐกจิ ไทยอยา่ งเตม็ ท่ี ขณะเดยี วกนั ไดเ้ รมิ่ หนั มาใชน้ โยบายทนุ นยิ มเสรโี ดยภาคเอกชนเปน็
          ผูข้ บั เคลือ่ นเศรษฐกิจ ต่อมาเมอ่ื พลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี
          บริหารประเทศเป็นช่วงท่ีเศรษฐกิจไทยก�ำลังเผชิญกับภาวะตกต่�ำ ส่วนการด�ำเนินนโยบาย
          ทางด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลกไ็ ม่มีเอกภาพ และการด�ำเนินการตามนโยบายทไ่ี ด้วางไว้ตอน
          เข้ามาบริหารประเทศก็ไม่สามารถด�ำเนินได้ เศรษฐกิจของประเทศเริม่ ถดถอยลง จนน�ำไปสู่
          การเกิดวกิ ฤตทางเศรษฐกิจในเวลาต่อมา

       2.	การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 เกิดจากหลายสาเหตุหลายประการผสมผสานกันจนเกิด
          การลม่ สลายทางเศรษฐกจิ ขน้ึ และหลงั เกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ รฐั บาลตดั สนิ ใจลอยตวั คา่ เงนิ บาท
          และที่ส�ำคัญรัฐบาลตัดสินใจรับความช่วยเหลือจากองค์การการเงินระหว่างประเทศ ดังน้ัน
          รัฐบาลจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการทางเศรษฐกิจตามข้อก�ำหนดหรือเงื่อนไขที่ไปตกลงไว้ ซึ่งการ
          ดำ� เนนิ นโยบายและมาตรการในการแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ ของรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ
          มีอยู่ด้วยกันหลายวิธี แต่ดูเหมือนการด�ำเนินนโยบายและมาตรการเหล่านี้อาจไม่ได้น�ำมาซึ่ง
          การแกป้ ญั หาไดเ้ ท่าทค่ี วร

       3.	รัฐบาลภายใต้การน�ำของนายชวน หลีกภัย เป็นช่วงเวลาที่เศรษฐกิจไทยก�ำลังเผชิญภาวะ
          วิกฤตเศรษฐกจิ อย่างหนกั ส่งผลใหร้ ัฐบาลของนายชวนต้องใช้นโยบายการเงินและการคลงั ที่
          เขม้ งวดอยา่ งมากในการแกไ้ ขปญั หา ดว้ ยการดำ� เนนิ นโยบายตา่ งๆ หลายประการ แตก่ ย็ งั ไม่
          สามารถฟน้ื คนื สภาพเศรษฐกจิ ใหเ้ ขา้ สภู่ าวะปกตไิ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และการแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17