Page 16 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 16

12-6 ประวตั ิศาสตรก์ ารเมืองและเศรษฐกิจไทย

เรื่องท่ี 12.1.1
สภาวการณท์ างการเมอื งและเศรษฐกจิ กอ่ นรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ

       ในปลายทศวรรษ 2530 หลังจากเกดิ วกิ ฤตการณ์ทางการเมอื งกรณีพฤษภาทมิฬ 2535 กระแส
การเรยี กรอ้ งใหเ้ กดิ การเปดิ เสรที างการเมอื งและเศรษฐกจิ ทา่ มกลางกระแสโลกทก่ี ลายเปน็ โลกานวุ ตั รหรอื
ตอ่ มาเรยี กกันวา่ โลกาภิวัตน์เกิดขน้ึ อยา่ งกวา้ งขวาง ในทางการเมอื งกระแสชนชนั้ กลางทเ่ี ปน็ พลังหลักใน
“มอ็ บมอื ถอื ”2 ของเดอื นพฤษภาคม 2535 กลายเปน็ เสยี งสำ� คญั ทเ่ี รยี กรอ้ งใหเ้ กดิ ประชาธปิ ไตยอยา่ งเตม็ ที่
ในโครงสร้างทางการเมือง อาทิ ให้ทหารไม่มายุ่งเก่ียวกับการเมืองเป็นเพียงทหารอาชีพ การเรียกร้อง
ใหน้ ายกรฐั มนตรแี ละผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งตอ้ งมาจากการเลอื กตง้ั การรณรงคใ์ หป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ ม
จดั รา่ งรฐั ธรรมนญู ใหเ้ ปน็ ฉบบั ประชาชนทมี่ คี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยมากทสี่ ดุ ทงั้ หลายเหลา่ นเ้ี ปน็ กระบวนการ
ต่อเนื่องมาจากวกิ ฤตการเมอื งเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ

       หลงั การคนื อำ� นาจของฝา่ ยทหารกลบั สกู่ รมกองไปเปน็ ทหารอาชพี ในกระแสเรยี กรอ้ งของประชาชน
และสอื่ มวลชนที่มอี ิทธพิ ลสงู ไม่ตอ้ งการใหท้ หารมายงุ่ เกี่ยวทางการเมอื ง ชว่ งครง่ึ หลงั ของทศวรรษ 2530
คือต้ังแต่ปี 2536-2540 นั้นได้กลายเป็นช่วงส�ำคัญของการเมืองในระบบรัฐสภา กล่าวคือเป็นช่วงเวลาที่
นกั การเมอื งทมี่ าจากการเลอื กตง้ั ผลดั เปลยี่ นขน้ึ มาดำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งรวมทงั้ ดำ� รงตำ� แหนง่ นายก-
รัฐมนตรีตามวิถีทางแห่งการเมืองในระบบรัฐสภา แต่เน่ืองจากโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองรวมท้ัง
พรรคการเมืองอยู่ในภาวะอ่อนแอและไร้เสถียรภาพจึงก่อให้เกิดปรากฏการณ์รัฐบาลอายุสั้นไม่ทันได้ท�ำ
ผลงานก็ต้องออกจากต�ำแหน่งให้รัฐบาลอื่นเข้ามาแทน3 ช่วงเวลา 5 ปีน้ีท�ำให้มีนายกรัฐมนตรีหัวหน้า
พรรคการเมืองจากการเลือกต้ังถึง 3 คนและมีคณะรัฐบาลถึง 4 รัฐบาลคือนายชวน หลีกภัย (ครั้งท่ี 1
วันท่ี 23 กันยายน 2535-13 กรกฎาคม 2538) นายบรรหาร ศิลปอาชา (วนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2538-25
พฤศจิกายน 2539) พลเอกชวลติ ยงใจยุทธ (วันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2539–9 พฤศจกิ ายน 2540) และ
นายชวน หลีกภัย (ครั้งท่ี 2) (วันท่ี 9 พฤศจิกายน 2540-17 กุมภาพันธ์ 2544) โดยเฉพาะรัฐบาลที่
มาจากการเลือกต้ังในช่วงท่ีเศรษฐกิจส่อเค้าจะเกิดวิกฤตในปี 2539-2540 นั้นอายุรัฐบาลย่ิงส้ันและ
ไรเ้ สถยี รภาพจากการตอ่ รองกนั หลายพรรคการเมอื งทเ่ี ข้ารว่ มรัฐบาล

       ในขณะทก่ี ระแสโลกาภวิ ตั นท์ างเศรษฐกจิ ทกี่ ระชบั เอาเศรษฐกจิ ไทยเขา้ ไปเปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบ
เศรษฐกิจแบบทนุ นิยมเสรีโลก ทำ� ให้รฐั ไทยต้องเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ หลายอยา่ ง รวมทั้งเป็นแหลง่ ลงทนุ
และจดุ ทเี่ งนิ ทนุ ของโลกไหลบา่ โดยแทบไรพ้ รมแดนดว้ ยลทั ธเิ สรนี ยิ มใหม่ เศรษฐกจิ ของไทยทเ่ี ตบิ โตอยา่ ง
ร้อนแรงมาต้ังแต่ต้นทศวรรษ 2530 นั้นก็ย่ิงท�ำให้เกิดความหวังว่าจะเจริญเติบโตกลายเป็นประเทศ

         2 โปรดดู เอนก เหล่าธรรมทัศน์, ม็อบมอื ถือ: ชนชัน้ กลางและนกั ธุรกจิ กับพฒั นาการประชาธปิ ไตย, (กรุงเทพฯ: มตชิ น,
2536).

         3 เกษยี ร เตชะพีระ, ถน่ิ กาขาว: เศรษฐกิจการเมอื งไทยใต้เงาไอเอม็ เอฟ, (กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มลู นิธิโกมล คมี ทอง,
2542), 228-233.
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21