Page 18 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 18
12-8 ประวตั ศิ าสตรก์ ารเมืองและเศรษฐกิจไทย
เรื่องท่ี 12.1.2
ลักษณะเศรษฐกิจสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
การด�ำเนินการทางเศรษฐกิจ
ชว่ งทพี่ ลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ เขา้ มาดำ� รงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรบี รหิ ารประเทศเปน็ ชว่ งทเี่ ศรษฐกจิ ไทย
กำ� ลงั เผชญิ กบั ภาวะตกตำ่� อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากปญั หาอตั ราการขยายตวั ทชี่ ะลอตวั ลงอยา่ งชดั เจน จากปญั หา
การถดถอยในการลงทุนของเอกชนและการส่งออก ความผันผวนของอัตราแลกเปล่ียน ปัญหาสถาบัน
การเงนิ และสภาพคล่องทางการเงนิ เป็นตน้ ผนวกกบั การดำ� เนนิ นโยบายของรฐั บาลเพื่อแก้ไขปัญหาทาง
เศรษฐกิจดังกล่าวเป็นไปด้วยความยากล�ำบากเนื่องจากปัจจัยหลายอย่างมาจากต่างประเทศไม่สามารถ
ควบคมุ ได้ เชน่ มกี ารเกง็ กำ� ไรคา่ เงนิ ในตลาดเงนิ ภมู ภิ าคหลายครงั้ การกเู้ งนิ ระยะสน้ั โดยไมม่ กี ารตรวจสอบ
หลกั ประกันท่ดี ี การสง่ ออกทซ่ี บเซาและการขาดดลุ บัญชเี ดินสะพัดอย่างหนัก5
ในขณะเดยี วกนั การดำ� เนนิ นโยบายทางดา้ นเศรษฐกจิ ของรฐั บาลกไ็ มม่ เี อกภาพ เนอื่ งจากรฐั บาล
มลี กั ษณะผสมหลายพรรคการเมอื งทแ่ี ขง่ ขนั กนั สรา้ งผลงานใหก้ บั พรรคมากกวา่ รฐั บาล โดยเฉพาะระหวา่ ง
รฐั มนตรขี องพรรคความหวงั ใหมก่ บั พรรคชาตพิ ฒั นา และความขดั แยง้ กนั ในรฐั บาลและไมส่ ามารถรว่ มแรง
ร่วมใจกันแก้วิกฤต ท�ำให้รัฐมนตรีคลังคนแรกคือนายอ�ำนวย วีรวรรณ ลาออกก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
ไมถ่ งึ สามสปั ดาห์ ท�ำใหก้ ารดำ� เนนิ การตามนโยบายทว่ี างไวต้ อนเขา้ มาบรหิ ารประเทศไมต่ อ่ เนอ่ื งและส�ำเรจ็
ตามเปา้ หมาย ย่งิ กว่านัน้ ยงั กลายเป็นการซำ้� เตมิ ปัญหาวกิ ฤตเศรษฐกิจในเวลานั้นอกี ด้วย
รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธได้แถลงนโยบายด้านเศรษฐกิจเม่ือเข้ามาบริหารประเทศที่ส�ำคัญ
ด้านการเงินการคลังเอาไว้ว่ารัฐบาลจะรักษาระเบียบวินัยทางการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดและจะด�ำเนิน
นโยบายการเงนิ การคลงั ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายการพฒั นาประเทศดา้ นอน่ื ๆ ตลอดจนพฒั นาตลาดการเงนิ
และตลาดทนุ เพอื่ เพม่ิ ขดี สามารถใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ ของภมู ภิ าค โดยจะดำ� เนนิ การ
ใน 8 ดา้ น คอื 1) สง่ เสรมิ การลงทนุ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน 2) ระดมเงนิ ออมภายในประเทศเพอ่ื ลดการพงึ่ พา
เงนิ กตู้ า่ งประเทศ 3) รกั ษาเสถยี รภาพของระดบั ราคาผบู้ รโิ ภคและควบคมุ การใชจ้ า่ ยเงนิ ภาครฐั ไมใ่ หก้ ดดนั
ต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจ 4) แก้ปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดให้ต่�ำลง 5) เร่งรัดแก้ไข
ฟนื้ ฟภู าคเศรษฐกิจทีม่ ปี ญั หา อสังหารมิ ทรพั ย์ ภาคการเงนิ สภาพคล่องภายในประเทศ 6) เปิดเสรีและ
ผ่อนคลายข้อจ�ำกัดทางการเงินอย่างเป็นข้ันเป็นตอน 7) สนับสนุนให้สถาบันการเงินมีบทบาทส�ำคัญใน
การแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ การกระจายรายได้ 8) พัฒนาตลาดการเงิน ตลาดทุนและตลาดเงินตรา
ตา่ งประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ6 จากนโยบายของรฐั บาลทแี่ ถลงไวป้ ระมาณ 6 เดอื นกอ่ นเกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ นนั้
5 สำ� นกั โฆษก, สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร,ี ผลงานรฐั บาลพลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ นายกรฐั มนตร,ี (กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั
เซเวน่ พริน้ ตงิ้ กรปุ๊ จำ� กัด, 2540), 1.
6 ส�ำนกั โฆษก, ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, นโยบายและภารกจิ ของรัฐบาลพลเอกชวลติ ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตร,ี
(กรุงเทพฯ: บริษัท เซเวน่ พริน้ ตง้ิ กรุ๊ป จ�ำกัด, 2540), 20-21.