Page 67 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 67

ภูมทิ ัศนว์ ฒั นธรรมกับการท่องเท่ียว 14-57
แนวตอบกิจกรรม 14.3.2

       การโหยหาอดตี เปน็ ภาวะทที่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ในประเดน็ ทางจติ วทิ ยา ซง่ึ เปน็ ภาวะทอี่ าจเกดิ ขน้ึ
ไดใ้ นระดบั บคุ คลและในระดบั สงั คม ทอ่ี าจเปน็ ผลมาจากความไมม่ น่ั คงทางเศรษฐกจิ เสถยี รภาพในทางการ
เมอื ง ฯลฯ เปน็ ภาวะของการโหยหาในชว่ งเวลาทเ่ี ปน็ ความสขุ ทเี่ ชอ่ื วา่ เปน็ ชว่ งเวลาแหง่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง
น�ำไปสู่การสร้างแบบแผนเพ่ือท่ีจะกระท�ำการบางอย่างให้ช่วงเวลาท่ีตนปรารถนาได้กลับคืนมา ด้วยการ
สรา้ งส่งิ ทเี่ ป็นตวั แทนของอดีตขนึ้ มา และเชื่อวา่ สงิ่ น้นั เป็นอดีตท่กี ลบั มาจริงๆ ในบริบทนีท้ �ำให้มีการสร้าง
พนื้ ทข่ี น้ึ ใหมซ่ งึ่ เปน็ การจำ� ลองอดตี อยา่ งในกรณขี องตลาดนำ้� สภ่ี าค เมอื งพทั ยา จงั หวดั ชลบรุ ี หรอื ในกรณี
ของอทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยาทไ่ี มใ่ ชก่ ารสรา้ งพนื้ ทขี่ นึ้ มาใหม่ แตก่ จ็ ะเหน็ ไดว้ า่ เปน็ การสรา้ ง
บทบาทใหมใ่ หแ้ กพ่ ้ืนที่ ซ่ึงสามารถตอบสนองความต้องการของผู้คนในภาวะของการโหยหาอดีตด้วยการ
เดินทางท่องเท่ียวไปในสถานท่ีซ่ึงเป็นตัวแทนของอดีต โดยเป็นช่องทางที่กลุ่มนักลงทุน รวมถึง
ผู้ประกอบการได้ใช้เป็นช่องทางในการเพ่ือสร้างรายได้ ด้วยเหตุนี้เองการโหยหาอดีตจึงมีความเก่ียวข้อง
กับกิจกรรมการทอ่ งเที่ยว

เร่ืองที่ 14.3.3
การปรับภูมิทัศน์เพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ

       ในอดตี คนไทยมกั จะคนุ้ เคยกบั กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วชาวตา่ งชาตซิ ง่ึ เปน็ ชาวตะวนั ตกเสยี เปน็ สว่ นมาก
ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากบริบทของการทอ่ งเท่ยี วในประเทศไทยที่กล่าวถึงกอ่ นหนา้ น้ี ทเ่ี ห็นได้อยา่ งชดั เจนคือ ใน
ช่วงสงครามเวียดนามที่ได้เกิดกิจกรรม (Rest and Recuperation หรือที่เรียกกันว่า R&R) ของเหล่า
ทหารที่เข้าร่วมรบในสงครามก่อให้เกิดธุรกิจท่ีเป็นไปเพ่ือการให้บริการด้านการท่องเท่ียวในประเทศไทย
เปน็ จำ� นวนมาก โดยเฉพาะในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร รวมถงึ พนื้ ทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งอน่ื ๆ (Ouyyanont, Porphant,
2001) ทั้งยังจะเห็นได้จากการรณรงค์ด้านการท่องเที่ยวของไทยในช่วงเวลาท่ีผ่านมา ที่ได้เน้นให้ความ
ส�ำคัญกบั กลุ่มนกั ท่องเทย่ี วตา่ งชาติ ซึง่ เปน็ ชาวตะวนั ตกเป็นหลัก (นักศกึ ษาสามารถคน้ หาขอ้ มูลเพ่ือชม
โฆษณาของการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทยได้จากสื่อออนไลน์) แตใ่ นช่วงไมก่ ี่ปที ีผ่ า่ นมานีเ้ ราจะเห็นได้วา่
ชาวจีนกลับกลายเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ีสร้างความเติบโตให้กับธุรกิจในภาคการท่องเท่ียวเป็นอย่างมาก
จะเหน็ ไดว้ ่าใน ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวจีนมีจำ� นวนมากกว่านักท่องเท่ียวชาวอเมริกัน
และเยอรมัน ในตลาดการท่องเท่ียวระหว่างประเทศของโลก ทั้งยังมีปริมาณการใช้จ่ายที่สูงมากด้วย ใน
ขณะท่ีทั่วโลกต่างปรับตัวให้สอดรับกับความต้องการของนักท่องเท่ียวกลุ่มน้ี (Cripps, Karla, 2017,
online)
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72