Page 48 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 48
2-38 วัฒนธรรมกบั การทอ่ งเท่ยี ว
ปจั จยั ตามสถานการณห์ รอื ขอ้ จำ� กดั ของแตล่ ะบคุ คล เชน่ สขุ ภาพของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ศกั ยภาพในการใชจ้ า่ ย
นอกจากนี้ความตอ้ งการในแต่ละขน้ั จะถกู กำ� หนดโดยตวั นักท่องเที่ยวเอง และกำ� หนดโดยผู้อื่นไดเ้ ช่นกัน
ทฤษฎีเก่ียวกับแรงจูงใจทางการท่องเที่ยว
แรงจงู ใจ (Motivation) เปน็ แรงผลกั ดนั หรอื ความปรารถนาทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การกระทำ� หรอื เปน็ ความ
ต้องการ หรอื ความเต็มใจภายในทีเ่ ปน็ แรงผลกั ดนั ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ (ราณี อิสิชัยกลุ ,
2557, น. 65) นักวิชาการได้น�ำแนวคิดของแรงจูงใจมาประยุกต์เข้ากับการท่องเที่ยว เกิดเป็นแรงจูงใจ
ทางการทอ่ งเท่ียว ดงั น้ี
แด็น (Dann, 1977) ศึกษาปัจจัยจูงใจทางการท่องเท่ียว พบว่านักท่องเท่ียวเดินทางท่องเท่ียว
เพราะเกิดจากแรงจูงใจทเี่ รียกว่า ปัจจยั ผลกั (Push Factor) คอื แรงจูงใจจากภายในทท่ี ำ� ใหน้ ักทอ่ งเที่ยว
ตอ้ งการทำ� กจิ กรรมเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ และไดร้ บั แรงดงึ ดดู จากเมอื งจดุ หมายปลายทางทเ่ี รยี กวา่
ปัจจัยดงึ ดดู (Pull Factor) ผลการวจิ ยั ได้บอกความแตกต่างของนักท่องเทีย่ ว 2 แบบ คือ นกั ท่องเทยี่ ว
แบบ Anomic Tourist หมายถงึ นกั ทอ่ งเทย่ี วทม่ี อี ายนุ อ้ ย เพศชาย สมรสแลว้ มสี ถานภาพทางเศรษฐกจิ
และสังคมสูงกว่าระดับเฉล่ียทั่วไป มาจากเมืองเล็กหรือชนบท และนิยมท่องเที่ยวซ�้ำในแหล่งท่องเที่ยวที่
ชื่นชอบ ในขณะท่ีนกั ท่องเทยี่ วแบบ Ego-enhancement Tourist มลี กั ษณะตรงกันขา้ ม คือ สว่ นใหญ่
เป็นเพศหญงิ มีสถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมทีต่ ำ่� กว่า มีอายุมากกวา่ และเริม่ ท่องเท่ียวเปน็ ครง้ั แรก
ผลการวิจัยน้ีสรุปว่า ปัจจัยผลัก เป็นปัจจัยภายใน (Intrinsic Motivator) เกิดก่อนปัจจัยดึง
เชน่ ความตอ้ งการทจ่ี ะหลกี หนคี วามจำ� เจ ตอ้ งการพกั ผอ่ น คลายความเครยี ด ตอ้ งการชอื่ เสยี ง การปรบั ปรงุ
สขุ ภาพใหร้ า่ งกายแข็งแรง การผจญภยั การปฏสิ มั พนั ธก์ บั คนอืน่ ปจั จัยผลกั เปรยี บเสมือนจุดก�ำเนดิ ของ
ความปรารถนาในการเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ ว สว่ นปจั จยั ดงึ คอื แรงดงึ ทเี่ กดิ จากเมอื งจดุ หมายปลายทางทอ่ งเทยี่ ว
ความรทู้ นี่ กั ทอ่ งเทย่ี วรเู้ กย่ี วกบั จดุ หมายปลายทางการทอ่ งเทยี่ ว ปจั จยั ดงึ เกดิ จากความสวยงามและความ
มเี สน่ห์ของแหลง่ ท่องเทีย่ ว เช่น ชายทะเล ภูเขา ศลิ ปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถ่นิ ปัจจยั ดึงเป็นตวั ช่วย
อธบิ ายการตดั สนิ ใจเลือกเมืองจดุ หมายปลายทางทอ่ งเทย่ี ว
ครอมตัน (Crompton, 1979) ศกึ ษาปัจจยั จูงใจในการทอ่ งเทย่ี วของนักทอ่ งเทย่ี ว พบปัจจัยจงู ใจ
9 ปจั จยั โดยแบง่ แรงจูงใจออกเป็น 2 กลุม่ คือ แรงจูงใจดา้ นสังคมและจติ วทิ ยา (Socio-psychological
Motive) และแรงจูงใจด้านวัฒนธรรม (Cultural Motive) แรงจูงใจด้านสังคมและจิตวิทยา เป็นปัจจัย
ผลกั สำ� หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วทล่ี าพกั ผอ่ น (หรอื นกั เรยี นในชว่ งปดิ ภาคเรยี น) มี 7 อยา่ ง คอื 1) ความตอ้ งการ
หลกี หนจี ากสภาพจำ� เจ 2) การสำ� รวจและการประเมนิ ตนเอง 3) การผอ่ นคลาย 4) ความตอ้ งการเกยี รตยิ ศ
ช่ือเสียง 5) ความต้องการท่ีจะถอยกลับไปสู่สภาพด้ังเดิม 6) การกระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
7) การเสรมิ สรา้ งการปฏสิ มั พนั ธใ์ นสงั คม สว่ นแรงจงู ใจดา้ นวฒั นธรรมเปน็ ปจั จยั ดงึ ดดู เปน็ สง่ิ ทดี่ งึ นกั ทอ่ งเทย่ี ว
ใหเ้ ข้ามาเท่ียวชม มี 2 อยา่ ง คอื 1) ความแปลกใหม่ และ 2) การศึกษาหาความรู้
การวิจัยของแด็น และครอมตัน ท�ำให้เกิดทฤษฎีปัจจัยผลักและปัจจัยดึงที่ได้รับการยอมรับกัน
อยา่ งกวา้ งขวาง ซง่ึ นกั วชิ าการหลายคนไดท้ ดสอบทฤษฎแี ละขยายผลสนบั สนนุ กนั อยา่ งกวา้ งขวาง ตอ่ มา
ไรอนั (Ryan, 1997) ไดศ้ กึ ษาแนวคดิ แรงจงู ใจการทอ่ งเทยี่ วของโคเฮน็ (Cohen, 1972) ครอมตนั (Crompton,