Page 55 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 55

สาระและบรบิ ทเกยี่ วกับการท่องเทีย่ ว 2-45
และเกิดความเสื่อมโทรม ซึ่งในที่สุดส่ิงเหล่าน้ีก็จะย้อนมาส่งผลกระทบต่อการท่องเท่ียวเอง โดยเฉพาะ
การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศ การทอ่ งเทย่ี วเดนิ ปา่ ศกึ ษาธรรมชาติ เชน่ การตดั และบกุ รกุ พน้ื ทปี่ า่ โกงกาง ทำ� ให้
ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกท�ำลาย ป่าที่เคยเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้�ำถูกท�ำลาย สัตว์น�้ำขนาดเล็กขาดท่ีอยู่
อาศัยและท่ีหลบภัยทำ� ให้จำ� นวนสตั ว์นำ้� ลดน้อยลงเกิดผลกระทบต่อสงิ่ มีชีวิตอ่ืนๆ เชน่ นก และลงิ ท่ีตอ้ ง
กนิ สัตวใ์ นป่าชายเลนเป็นอาหาร เกิดความอดอยากขาดแคลน และต้องอพยพไปหากนิ ที่อน่ื 	

       3.2		ทรพั ยากรสตั วป์ า่ ถกู ลา่ และไดร้ บั อนั ตราย ความหลากหลายทางชวี ภาพถกู ทำ� ลาย เนอ่ื งจาก
สตั วป์ า่ บางชนดิ ลดจำ� นวนลงไป สตั วป์ า่ สงวนบางชนดิ เชน่ สมนั เปน็ สตั วป์ า่ สงวนชนดิ หนงึ่ ทส่ี ญู พนั ธไ์ุ ป
แลว้ และมีสัตวป์ า่ สงวนอกี หลายชนิดทอ่ี ย่ใู นภาวะใกล้สญู พันธุ์ เช่น แรด กระซู่ กปู รี ทง้ั นเ้ี ป็นผลมาจาก
มผี ลู้ กั ลอบเขา้ ไปลา่ สตั วป์ า่ โดยเฉพาะผทู้ อ่ี าศยั อยตู่ ามแนวกนั ชนหรอื ชายปา่ ลกั ลอบเขา้ ไปในปา่ เพอ่ื ลา่ สตั ว์
ออกมาขายยงั รา้ นขายอาหารปา่ และจากการทพ่ี นื้ ทปี่ า่ ไมถ้ กู บกุ รกุ ทำ� ลายจนมสี ภาพเสอื่ มโทรมทำ� ใหส้ ตั วป์ า่
ทงั้ หลายที่เปน็ สัตว์ปา่ สงวน และสัตว์ป่าคมุ้ ครอง ไม่มที ่ีอย่อู าศยั และทหี่ ลบภยั ต้องย้ายถน่ิ ท่อี ยู่เขา้ ไปยัง
ป่าที่ลึกข้ึน นอกจากนี้การท่องเที่ยวประเภทต้ังแคมป์ในป่าก็อาจเป็นช่องทางหน่ึงท่ีท�ำให้สัตว์ป่าเล็กๆ
ไดร้ บั อนั ตรายจากการกนิ ขยะทเี่ หลอื จากการบรโิ ภคของนกั ทอ่ งเทย่ี ว และยงั ไดร้ บั ผลกระทบทางออ้ มจาก
ความรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณข์ องมนษุ ย์ เชน่ การสรา้ งถนนผา่ นปา่ ในเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่
เพอ่ื ใหย้ านพาหนะเขา้ ถงึ ไดส้ ะดวก ทำ� ใหส้ ตั วป์ า่ ถกู รบกวนจากเสยี งและความสนั่ สะเทอื นจากยานพาหนะ
สตั วป์ า่ ทอี่ อกหากินหรือขา้ มถนนอาจถูกรถชนตาย สัตวป์ ่าต้องเปล่ยี นเส้นทางหากิน มีผลกระทบตอ่ ชีวติ
ความเปน็ อยูข่ องสตั วป์ ่า

       3.3		การเกิดปัญหามลพิษส่ิงแวดล้อม เป็นปญั หาทเ่ี กดิ จากคนในชมุ ชน ผปู้ ระกอบการ รวมถึง
นกั ทอ่ งเทยี่ วทขี่ าดจติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษ์ เชน่ การกอ่ สรา้ งอาคารบา้ นเรอื น รา้ นอาหาร ภตั ตาคาร รกุ ลำ�้
ชายฝั่งทะเลก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางทัศนียภาพ ปัญหามลพิษทางน้�ำ และปัญหาขยะมูลฝอย น�้ำเสีย
และส่ิงปฏิกูลจากห้องน�้ำและห้องครัวถูกระบายลงสู่ทะเลโดยไม่ผ่านการบ�ำบัด รวมถึงการระบายน้�ำจาก
การซกั ล้างลงสแู่ มน่ ้�ำหรือทะเลโดยตรง ซ่งึ น�้ำใช้เหล่านี้จะมีผงซักฟอกเจือปนอยู่ท�ำใหเ้ กิดอันตรายตอ่ สง่ิ มี
ชวี ติ ในนำ้� และสารพษิ เหลา่ นยี้ งั อาจปนเปอ้ื นเขา้ สหู่ ว่ งโซอ่ าหารในระบบนเิ วศ ผลเสยี ทง้ั หลายกจ็ ะยอ้ นกลบั
เข้ามาสู่มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์เป็นผู้อยู่ปลายสุดของห่วงโซ่อาหาร ส่วนเศษอาหารและถุงพลาสติกที่ถูก
ทิง้ ลงไปในทะเล นอกจากจะเกดิ มลพษิ ทางทศั นียภาพแลว้ ยังกอ่ ให้เกดิ เชือ้ โรคและอันตรายตอ่ สตั วท์ ะเล
ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ปลา โลมา เตา่ ท่ีอาจเข้าใจผดิ วา่ ขยะเหล่านน้ั เปน็ อาหารหรอื แพลงกต์ อนสัตว์ เมอื่ เผลอ
กนิ เข้าไปขยะเหลา่ นน้ั จะเข้าไปอดุ ตันระบบย่อยอาหารท�ำใหส้ ตั วเ์ สียชวี ิตในท่ีสุด นอกจากน้ีคราบน้�ำมนั ท่ี
รว่ั ไหลออกมาจากเรอื ขนส่ง ซง่ึ ลอยอยบู่ นผิวนำ�้ จะปดิ กั้นไมใ่ หอ้ อกซเิ จนในอากาศลงไปสมั ผสั กบั นำ้� ท�ำให้
นำ้� ขาดออกซเิ จน นานวนั เขา้ นำ้� นน้ั กจ็ ะเนา่ เสยี เมอ่ื สตั วน์ ำ�้ ขนึ้ มาหายใจบนผวิ นำ้� คราบนำ้� มนั เหลา่ นก้ี อ็ าจ
จะเข้าสู่ร่างกายของสัตว์ทางปากและจมูก และคราบน�้ำมันเหล่านี้ยังเกาะติดตามตัวสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในนำ้�
รวมถึงเกาะติดตามปีกและขนของนกที่หากินตามชายฝัง่ ทะเลด้วย

       อยา่ งไรกด็ ี ความเสอื่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ การเสยี สมดลุ ของระบบนเิ วศและสง่ิ แวดลอ้ ม
ไมไ่ ดม้ สี าเหตมุ าจากการทอ่ งเทย่ี วเพยี งอยา่ งเดยี ว สว่ นหนงึ่ เกดิ จากความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ และ
การสรา้ งสาธารณปู โภคพน้ื ฐานเพอ่ื รองรบั การทอ่ งเทยี่ ว การทอ่ งเทย่ี วจงึ เปน็ เพยี งหนง่ึ ในหลายปจั จยั ทมี่ ี
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60