Page 57 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 57

สาระและบรบิ ทเกยี่ วกบั การท่องเทย่ี ว 2-47
เพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ 64.7 และ 65.2 ใน พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2558 ตามล�ำดับ คนไทยนิยมเดินทาง
ท่องเทีย่ วภายในประเทศ โดยไปเทีย่ วภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มากทส่ี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.9 รองลงมา
คือ ภาคตะวันตก รอ้ ยละ 28.9 ภาคเหนอื ร้อยละ 25.4 ภาคตะวันออก รอ้ ยละ 17.6 ภาคใต้ รอ้ ยละ 13.7
ภาคกลาง รอ้ ยละ 10.8 และเดินทางไปทอ่ งเที่ยวตา่ งประเทศรอ้ ยละ 3.5

       วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว เรยี งจากมากไปหานอ้ ย 5 อนั ดบั คอื 1) เยยี่ มครอบครวั
ญาติ เพอ่ื น 2) พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ 3) ไหวพ้ ระ ปฏบิ ตั ธิ รรม 4) ตง้ั ใจหรอื แวะไปรบั ประทานอาหาร 5) ซอื้ ของ
หรอื ชอ็ ปปง้ิ สำ� หรบั การเดนิ ทางสว่ นใหญไ่ ปกบั ครอบครวั หรอื ญาติ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64 รองลงมา คอื เดนิ ทาง
ทอ่ งเทยี่ วกบั เพอื่ นหรอื เพอ่ื นทที่ ำ� งาน รอ้ ยละ 19.3 นกั ทอ่ งเทย่ี วสว่ นใหญม่ กี ารจดั การเดนิ ทางเอง รอ้ ยละ
90.8 รองลงมา คือ มีหน่วยงานหรือคณะจดั การให้ รอ้ ยละ 8.2

       ข้อมูลจากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ (2560) คาดว่าจ�ำนวน
นักทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตทิ เ่ี ดินทางมาทอ่ งเที่ยวประเทศไทยใน พ.ศ. 2560 มีประมาณ 35.3 ล้านคน เติบโต
จาก พ.ศ. 2559 คิดเป็นร้อยละ 8.4 และน�ำรายได้เข้าสู่ประเทศสูงถึง 2.9 ล้านล้านบาท อย่างไรก็ตาม
กระแสการเปล่ียนแปลงในธุรกจิ ท่องเท่ยี วทีส่ ่งผลให้ประเทศไทยต้องเรยี นรู้และปรับตัวตาม ไดแ้ ก่

       1.	 การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประเทศไทยและประเทศพฒั นาแลว้ ทงั้ หลายทว่ั โลกมจี ำ� นวนผสู้ งู อายุ
เพิ่มขึน้ อยา่ งมาก นกั ทอ่ งเทีย่ วสงู อายทุ ม่ี าท่องเท่ยี วในไทย มสี ัดส่วนจากรอ้ ยละ 15 ใน พ.ศ. 2554 เพ่ิม
เป็นร้อยละ 19 ใน พ.ศ. 2558 นักท่องเทย่ี วผสู้ งู อายุเป็นกลุ่มท่ีมีกำ� ลงั ซอ้ื สงู โดยมคี ่าใชจ้ า่ ยสูงกวา่ กลมุ่
มิลเลนเนียล หรือรุ่น Gen Y 3 เท่า การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนอกจากจะช่วยขยายตลาดนักท่องเท่ียว
สงู อายแุ ลว้ ยงั สรา้ งโอกาสใหธ้ รุ กจิ ใหมๆ่ ดว้ ย จากการสำ� รวจผเู้ กษยี ณอายใุ นตา่ งประเทศพบวา่ ผเู้ กษยี ณอายุ
มแี นวโนม้ ทจ่ี ะมองหาสถานทเ่ี พอื่ ใชช้ วี ติ หลงั เกษยี ณในทที่ มี่ คี า่ ครองชพี ถกู ลง ความคดิ นมี้ แี นวโนม้ ขยายตวั
เพมิ่ ขนึ้ และไทยถกู จดั เปน็ ประเทศจดุ หมายปลายทางอนั ดบั ตน้ ๆ เหน็ ไดจ้ ากทป่ี ระเทศไทยไดร้ บั ความนยิ ม
จากผสู้ งู อายุท้งั ชาวญ่ปี ุ่นและชาวยุโรป ธุรกจิ ทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์ทางตรง ได้แก่ ธรุ กจิ การใหบ้ รกิ ารทีพ่ กั
ระยะยาว ธรุ กจิ อสังหารมิ ทรัพย์

       2.	 การแข่งขันดึงดูดนักท่องเที่ยวสูงขึ้น การแขง่ ขนั ระหวา่ งประเทศในการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
การทอ่ งเทยี่ ว ไมว่ า่ จะเปน็ การผอ่ นปรนกฎระเบยี บการออกวซี า่ การลงทนุ สรา้ งแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใหมๆ่ เพอื่
ดึงดูดนักทอ่ งเที่ยว หลายประเทศเนน้ เพ่ิมรายไดจ้ ากการท่องเทยี่ ว โดยเฉพาะประเทศแถบเอเชีย ธุรกิจ
การทอ่ งเทย่ี วไทยจงึ ตอ้ งเรง่ สรา้ งความแตกตา่ งดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว อยา่ งไรกด็ ี การแขง่ ขนั ดงึ นกั ทอ่ งเทยี่ ว
อาจสร้างผลเสยี ด้านราคาได้

       3.	 ยุคเทคโนโลยีและดจิ ิทัล พฤตกิ รรมการทอ่ งเทยี่ วและการดำ� เนนิ ธรุ กจิ เปลย่ี นแปลงไป อนั เปน็
ผลจากพัฒนาการทางด้านดิจิทัล ส่งผลให้ธุรกิจท่องเที่ยวต้องเน้นการสร้างตราสินค้า (Brand) ผ่านส่ือ
ออนไลน์ และการใชส้ อ่ื ออนไลนท์ เี่ หมาะสม ศนู ยว์ จิ ยั เศรษฐกจิ และธรุ กจิ ไดใ้ หข้ อ้ มลู ทน่ี า่ สนใจวา่ ผใู้ ชเ้ ฟซบกุ๊
อยากไปเทย่ี วตามภาพทเี่ พอ่ื นแชร์ รอ้ ยละ 52 นกั ทอ่ งเทยี่ ววางแผนเดนิ ทางโดยดรู วี วิ ออนไลน์ รอ้ ยละ 73
การจองออนไลนใ์ นเอเชยี แปซฟิ กิ มแี นวโนม้ โต รอ้ ยละ 17 ตอ่ ปี เกดิ กระแสใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื แทนคนนำ� เทย่ี ว
โดยดแู ผนที่ ร้อยละ 67 หารา้ นอาหารถูกปาก ร้อยละ 56 หากิจกรรมถูกใจ รอ้ ยละ 51 จำ� นวนรีวิวและ
คอมเมนต์ในทริปแอดไวเซอรโ์ ตเร็ว จาก 20 ลา้ นคน ใน พ.ศ. 2548 เปน็ 180 ล้านคน ใน พ.ศ. 2558
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62