Page 71 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 71

สาระและบรบิ ทเก่ยี วกับการท่องเที่ยว 2-61

เร่ืองท่ี 2.3.3
แนวทางการจัดการทรัพยากรการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม

       แนวทางการจดั การทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื มี 2 ประการ คอื 1) การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ ง
ความตอ้ งการทจี่ ะพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ 2) ความจำ� เปน็ ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วเพอื่
การใชง้ านในอนาคต โดยพยายามควบคมุ ผลกระทบทางลบใหเ้ กดิ นอ้ ยทส่ี ดุ การจดั การทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว
แบบยงั่ ยนื จะประสบความสำ� เรจ็ หรอื ไมน่ นั้ เจา้ ของทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว ผปู้ ระกอบการ รฐั บาล นกั วชิ าการ
นักอนุรักษ์ รวมถึงนักท่องเที่ยว จะต้องร่วมมือกันในการใช้ทรัพยากรการท่องเท่ียวที่มีอยู่จ�ำกัดอยา่ ง
รอบคอบ ทัง้ นเ้ี พือ่ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด ทงั้ ในปัจจบุ นั และในอนาคต การจัดการทรัพยากรการท่องเทีย่ ว
ตอ้ งดำ� เนินการภายใตข้ ดี ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) 3 ด้าน คือ

       1.	 ขีดความสามารถในการรองรับทางส่ิงแวดล้อม หมายถึง การจดั การโดยยอมให้มี “จำ� นวน
คนมากท่ีสุด” สามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งท่องเที่ยวได้โดยไม่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้าน
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ และไม่ท�ำให้ประสบการณ์ซ่ึงนักท่องเท่ียวจะได้รับน้ันมีคุณภาพลดลงจนไม่อาจ
จะยอมรับได้

       2.	 ขีดความสามารถในการรองรับทางการตลาด หมายถงึ การจดั การโดยไมย่ อมใหม้ จี ำ� นวนคน
เพมิ่ ขน้ึ จนถงึ ระดบั ทไี่ ปขดั ขวางความสามารถของทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว ในการทจี่ ะใหป้ ระสบการณท์ มี่ ี
คุณภาพแก่นักท่องเที่ยว เพราะหากเกินขีดความสามารถในการรองรับแล้ว ตลาดการท่องเที่ยวก็จะถึง
จดุ วิกฤตได้

       3.	 ขดี ความสามารถในการรองรบั ของชมุ ชน หมายถงึ การจดั การตามขดี ความสามารถในรองรบั
ซ่ึงจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว การจัดการน้ีจะต้องพยายามไม่ให้เกินขีด
ความสามารถในการรองรบั เพราะหากเกินขีดความสามารถแลว้ ชุมชนในบริเวณนนั้ จะรูส้ กึ ถึงผลกระทบ
ทางลบทเ่ี กดิ ข้ึน

       เนอ่ื งจากทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรมมหี ลายประเภท ในทนี่ ข้ี อกลา่ วถงึ แนวทางการจดั การ
ทรัพยากรการท่องเท่ียวประเภทอาคาร โบราณสถาน ศาสนสถาน งานจิตรกรรม ประติมากรรม และ
ประเพณี ดงั นี้

       1.	 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทอาคาร การจัดการประเภทนี้ตอ้ งมีความสมั พนั ธ์
กบั ชมุ ชนและกจิ กรรมประจ�ำวนั ของชมุ ชน มหี ลกั การทส่ี �ำคัญดงั นี้ (สนิ ชยั กระบวนแสง, 2553, น. 9-10)

            1.1 การให้ชุมชนมีส่วนร่วม ชุมชนที่อยู่ในพื้นท่ีซ่ึงเป็นย่านต่างๆ ท่ีมีอาคารซึ่งเป็น
งานสถาปัตยกรรมทรงคุณคา่ ดังกลา่ วแลว้ ควรได้มสี ่วนรว่ มในการจดั การ การใหข้ อ้ เสนอแนะในฐานะทีม่ ี
สว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของคนทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทน่ี นั้ ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งชมุ ชน
กบั หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทด่ี แู ลพน้ื ท่ี มที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ การเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว รวมทงั้ รกั ษาเอกลกั ษณข์ องพนื้ ที่
ชมุ ชนของตนไว้ การใหช้ มุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มจะท�ำใหช้ มุ ชนสามารถควบคมุ กนั เองไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76