Page 76 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 76

2-66 วฒั นธรรมกับการทอ่ งเทยี่ ว
                 2.3.2 พันธุ์ไม้ในเขตโบราณสถาน ในกรณีที่มตี ้นไมใ้ หญ่ข้นึ ในเขตโบราณสถานกอ่ น

การบรู ณะ ปรบั ปรงุ หากเหน็ วา่ ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ โบราณสถานควรรกั ษาไว้ สว่ นการปลกู พนั ธไ์ุ มใ้ นพน้ื ท่ี
โดยรอบโบราณสถานตอ้ งทำ� ดว้ ยความรอบคอบ รปู แบบของการจดั ทำ� ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ โบราณสถาน
ไมใ่ ช่ให้ตัวโบราณสถานเป็นส่วนประกอบของภูมทิ ศั น์ ดังเช่นการจดั สวนสาธารณะ

            2.4 บริการด้านพื้นฐาน มแี นวทางการจดั การ ดังนี้
                 2.4.1 ทจี่ อดรถ ควรใหอ้ ยนู่ อกเขตโบราณสถาน เพอื่ ไมใ่ หโ้ บราณสถานไดร้ บั ผลกระทบ

จากความสัน่ สะเทอื นและมลภาวะ
                 2.4.2		 จัดท�ำทางเดินเท้าไปยังโบราณสถาน
                 2.4.3		 จัดหาท่ีนั่งพักผ่อนและที่ทิ้งขยะมูลฝอยตามต�ำแหน่งท่ีสมควร
                 2.4.4		จัดระบบการระบายน้�ำ ในเขตโบราณสถานเพอื่ ป้องกนั นำ้� ท่วมขงั
                 2.4.5		ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ท่ีต้องวางสายหรือร้อยท่อ ต้องวางใต้พื้นดินและ

ตรวจสอบให้มีความปลอดภัยสม่�ำเสมอ
                 2.4.6		รา้ นขายของทร่ี ะลกึ และสขุ า ควรอยนู่ อกเขตโบราณสถาน จดั ตง้ั ในทเี่ หมาะสม

ไม่บดบังทศั นียภาพ โบราณสถาน และตอ้ งรกั ษาความสะอาดอยา่ งเขม้ งวด
            2.5		ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว มแี นวทางการจัดการ ดงั น้ี
                 2.5.1 ท�ำป้ายเตือนจุดอันตราย ไดแ้ ก่ ทางเดนิ ตา่ งระดบั ทางเดนิ ลนื่ บนั ไดสงู ชนั หรอื

อาจมีจดุ อันตรายอื่นตามลกั ษณะภมู ิประเทศ ปา้ ยเตอื น ควรอยูใ่ นตำ� แหน่งทม่ี องเหน็ ได้ง่าย
                 2.5.2 จัดบุคลากรเดินตรวจพ้ืนที่ บุคลากรท่ีเดินตรวจพื้นที่ ควรอบรมให้มีความ

สามารถในการช่วยเหลอื เบอ้ื งตน้ นอกเหนอื ไปจากการดแู ลความปลอดภยั ตามปกติ
                 2.5.3 การจ�ำหน่ายสินค้าอย่างเป็นธรรม สินค้าภายในแหล่งท่องเที่ยวต้องติดราคา

ท่ตี ัวสนิ คา้ มคี ุณภาพตรงตามท่ีกล่าวไว้ในแผ่นโฆษณาหรอื ค�ำรับรองท่ีพิมพ์ก�ำกบั มากบั ตวั สินค้าในราคา
ท่เี ป็นธรรม

                 2.5.4 บริการติดตามของหาย ส่ิงของที่นักท่องเที่ยวลืมหรือท�ำหาย ควรมีบริการให้
เจา้ ของสามารถตดิ ตามได้ โดยจดั ใหม้ หี อ้ งเกบ็ ของทม่ี ผี ลู้ มื หรอื ทำ� หาย ซงึ่ อาจใชส้ ถานทใ่ี นศนู ยข์ อ้ มลู เพอื่
ให้ติดตามไดง้ ่าย และควรมีปา้ ยบอกสถานท่ีบรกิ ารอย่างชัดเจน

            2.6		ความปลอดภัยของโบราณสถาน โบราณสถานถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติและ
มนุษยชาติท่ีทุกคนมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ เมื่อน�ำมาใช้เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวย่อมขัดกับ
วตั ถปุ ระสงค์หลักของการก่อสรา้ ง นอกจากนโี้ บราณสถานเปน็ สง่ิ ท่ีมอี ายุยาวนาน วัสดุกอ่ สร้างยอ่ มเสอ่ื ม
สภาพไปตามธรรมชาตไิ มส่ ามารถรองรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วจ�ำนวนมากได้ การรกั ษาความปลอดภยั ของโบราณ
สถานจึงมคี วามสำ� คญั อยา่ งมาก โดยมีแนวทางในการจดั การดังน้ี

                 2.6.1 การควบคุมการใช้งาน ในท่ีน้ีหมายถึงการรองรับนักท่องเท่ียวจ�ำนวนมากใน
แต่ละครง้ั ทอี่ าจทำ� ใหโ้ บราณสถานไมส่ ามารถรองรับได้ ท�ำใหเ้ สื่อมสภาพหรือหักพงั ถอื ได้วา่ เปน็ ตวั เร่งท่ี
ท�ำลายโบราณสถาน การควบคุมอาจจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้าชมแต่ละคร้ัง หรือไม่อนุญาตให้เข้าชมภายใน
ตัวอาคาร โดยชมไดแ้ ต่ภายนอกเทา่ น้ัน
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81