Page 79 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 79

สาระและบรบิ ทเกี่ยวกับการทอ่ งเท่ยี ว 2-69
                3.2.3 จดั ทำ� คมู่ อื นำ� ชม คมู่ อื นำ� ชมควรมรี ายละเอยี ดเชงิ ประวตั พิ อสมควร บอกถงึ ความ
ส�ำคัญ ส่ิงน่าสนใจที่นักท่องเที่ยวควรชม ควรมีแผนผังของสถานที่ และต�ำแหน่งของสิ่งท่ีน่าสนใจลงอยู่
ในแผนผงั รวมทงั้ ภาพถา่ ยที่ส�ำคญั ตามสมควร
            3.3		การจัดการด้านภูมิทัศน์ โดยทั่วไปแล้ว เม่ือสถาปนิกออกแบบสร้างศาสนสถานข้ึน
จะคำ� นงึ ถงึ ภมู ทิ ศั นใ์ นภาพรวมไวแ้ ลว้ รวมทง้ั การวางตำ� แหนง่ ตวั อาคารตา่ งๆ ใหป้ ระสานประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ ง
กลมกลืน แต่เน่ืองจากการดูแลรักษาหมู่อาคารที่มีความส�ำคัญรวมทั้งภูมิทัศน์ที่ผู้ออกแบบได้จัดท�ำไว้
เปน็ เรอ่ื งนอกเหนอื ความสามารถของคณะสงฆ์ ศษิ ยว์ ดั และศาสนกิ ชน ในเวลาตอ่ มาจงึ ถกู รกุ ลำ้� ดดั แปลง
รอื้ ถอน หรือตอ่ เติมจนเสียคุณค่า ซ่งึ มกั พบเสมอในศาสนสถานเกือบทกุ แห่ง แนวทางการจดั การมดี ังน้ี
                3.3.1 จัดท�ำให้กลับสู่รูปแบบเดิม การจัดการในลักษณะน้ีจ�ำเป็นต้องศึกษาแนวคิด
ค่านิยมและลักษณะของกลุ่มอาคารท่ีผู้ออกแบบเดิมได้ท�ำไว้ การท�ำให้กลับสู่รูปแบบเดิมอาจต้องรื้อถอน
โยกย้ายสง่ิ แปลกปลอมทม่ี ผี ู้สร้างเพิม่ เติมทำ� ขึน้ ออกไป หรอื เพ่มิ เติมในกรณถี กู ทำ� ลายหรือช�ำรุด
                3.3.2 จัดท�ำให้พื้นท่ีมีความร่มร่ืน เป็นการลดพ้ืนท่ีแข็งกระด้าง เชน่ ลานซีเมนต์ ซงึ่
นิยมท�ำข้ึนในสมัยหลังเพียงเพราะต้องการท�ำความสะอาดหรือดูแลสถานท่ีได้ง่าย โดยรื้อและปลูกหญ้า
ทเี่ หมาะสมกบั พนื้ ที่ ทำ� ทางเดนิ ปลกู ไมป้ ระดบั ทเ่ี ปน็ พนั ธไ์ุ มท้ อ้ งถน่ิ ทมี่ คี วามสงู ไมม่ ากนกั พนั ธไ์ุ มท้ ปี่ ลกู
และตำ� แหน่งท่ปี ลกู ควรออกแบบและจดั ทำ� โดยผูม้ ีความรู้ เพื่อใหเ้ หมาะกับสถานท่ีและมคี วามสวยงาม
            3.4 การบริการพ้ืนฐาน ความมงุ่ หมายในการสร้างศาสนสถานคือ ต้องการให้เปน็ สถานที่
ท่ีสงบเพ่ือใช้ประกอบศาสนกิจ เป็นสถานท่ีถ่ายทอดธรรมะและความรู้ เป็นที่จ�ำพรรษาของพระสงฆ์
การจัดการบริการพื้นฐานจึงต้องเคารพความมุ่งหมายเดิมด้วย ขณะเดียวกันศาสนสถานก็มีพื้นที่จ�ำกัด
ในการรองรบั ผ้เู ขา้ ชมและยานพาหนะ อีกท้งั การกอ่ สรา้ งแต่เดมิ ใชเ้ ทคโนโลยพี นื้ บ้าน จึงมีความเส่ยี งท่ีจะ
ช�ำรุดหากต้องรองรับคนจ�ำนวนมาก และความสั่นสะเทือนจากยานพาหนะ การจัดบริการพ้ืนฐานจึงต้อง
มีความรอบคอบ ตามสภาพแวดลอ้ มของศาสนสถานแตล่ ะแห่ง โดยแนวทางในจดั การมดี งั นี้
                3.4.1 สถานที่จอดรถยนต์ ศาสนสถานส่วนใหญ่มีสถานที่จ�ำกัด มีพ้ืนที่ใช้งานเป็น
สดั สว่ นตามทไี่ ดอ้ อกแบบไวใ้ นการกอ่ สรา้ งครง้ั แรก สถานทจ่ี อดรถยนตจ์ งึ เปน็ ปญั หาสำ� คญั ของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
นอกจากนย้ี านพาหนะยงั เพมิ่ มลภาวะใหก้ บั ศาสนสถาน ทำ� ลายความสงบ สรา้ งความแออดั และเกดิ ความ
สนั่ สะเทอื นเปน็ อนั ตรายตอ่ ศาสนสถาน การจดั สถานทจ่ี อดรถยนตน์ อกพนื้ ทศ่ี าสนสถานจงึ เปน็ ทางออกทดี่ ี
โดยให้นักท่องเท่ียวเดินเท้าจากท่ีจอดรถไปยังศาสนสถาน ท�ำให้มีโอกาสใกล้ชิดวิถีชีวิตของคนในพ้ืนท่ี
และมีโอกาสอุดหนนุ สินคา้ สรา้ งรายได้ให้กับคนในพื้นทดี่ ว้ ย
                3.4.2 การจัดศูนย์บริการของแหล่งท่องเท่ียว อาจจัดใกล้พื้นที่จอดรถยนต์ เพื่อให้
บรกิ ารดา้ นความรเู้ กย่ี วกบั ศาสนสถานและวถิ ชี วี ติ ของชมุ ชน นอกจากนค้ี วรมที ขี่ ายของทรี่ ะลกึ และสงิ่ ของ
จำ� เปน็ มที ่นี ่งั พัก หอ้ งสขุ า และจดุ รวบรวมของหาย เปน็ ตน้
                3.4.3 การรักษาความสะอาด เปน็ การจัดการท้งั ภายในและภายนอกอาคาร ศาสน-
สถานใหม้ คี วามสะอาด สวยงามเหมาะสมกบั สถานท่ี ลานดนิ ควรปลกู หญา้ และดแู ลสมำ�่ เสมอ ตน้ ไมท้ ป่ี ลกู
เพ่อื รม่ เงาหรอื เพอื่ ความสวยงามตอ้ งดูแล ตดั แต่งไมใ่ หเ้ กิดอันตรายต่อศาสนสถาน จัดใหม้ ีทนี่ งั่ พัก และ
ถงั ขยะในต�ำแหนง่ ท่ีเหมาะสม
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84