Page 83 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 83
สาระและบริบทเก่ยี วกับการท่องเทีย่ ว 2-73
4.2 ความสะอาดภายในอาคาร ทำ� ความสะอาดเปน็ ประจำ� องคป์ ระกอบภายในตัวอาคาร
ที่ได้จัดไว้อย่างงดงามมีความลงตัวเหมาะสมแล้ว ไม่ควรน�ำส่ิงที่ขัดกันหรือก่อให้เกิดความรกรุงรังมาเพิ่ม
เติมอีก ไม่น�ำสิ่งของท่ีไม่เหมาะสมหรือขัดกับความศรัทธามาเก็บไว้ในอาคาร รวมท้ังให้ความเคารพต่อ
ความคิดสรา้ งสรรคข์ องผู้สร้าง และความคิดของชุมชนในอดีตดว้ ย
4.3 การเผยแพร่ความรู้ ควรเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมา ความส�ำคัญ
ลักษณะทางศิลปกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงาน รวมท้ังข้อควรและไม่ควรปฏิบัติส�ำหรับนักท่องเที่ยวท่ีเข้ามา
เยี่ยมชม
5. การจัดการทรัพยากรการท่องเท่ียวทางประเพณี ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น แม้ว่าจะเป็น
ประเพณเี ดยี วกันกอ็ าจมีความแตกต่างกันในดา้ นกิจกรรมทีเ่ ป็นขอ้ ปลกี ย่อย ซึ่งปรับไปตามความเช่ือและ
สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถ่ิน การจัดการทรัพยากรทางประเพณีน้ี จะไม่กล่าวถึงในรูปองค์การหรือ
ผงั การบรหิ ารจดั การ เพราะเปน็ การมองในมติ ขิ องรายไดม้ ากกวา่ ความยงั่ ยนื และไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการ
ของท้องถ่นิ ทเี่ ปน็ เจ้าของประเพณี แนวทางในการจดั การมดี ังน้ี (สินชยั กระบวนแสง, 2553, น. 25)
5.1 ชุมชนที่เป็นเจ้าของประเพณีต้องมีส่วนร่วม โดยทั่วไปผู้บริหารท้องถิ่นมักคิดและ
ท�ำสิ่งต่างๆ โดยไม่ถามความเห็นจากเจ้าของประเพณี มักย่ืนข้อเสนอแลกกับการให้เงินอุดหนุน ท�ำให้
เจ้าของประเพณีเกิดความเกรงใจและไม่กล้าขัดแย้ง เพื่อป้องกันความผิดเพ้ียนของประเพณี ควรให้
คนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดและท�ำอย่างแท้จริง โดยยึดถือความเช่ือและสิ่งที่เคยปฏิบัติต่อเนื่อง
กันมาเปน็ พ้ืนฐานในการคดิ มกี ารจดั การรว่ มกนั ระหว่างเจา้ ของประเพณีกับผู้บรหิ ารท้องถิ่น
5.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับงานประเพณี การทอ่ งเทย่ี วถอื วา่ เปน็ การศกึ ษาหาความรอู้ ยา่ งหนง่ึ
หลายประเพณมี ที มี่ าจากสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของทอ้ งถน่ิ ผนวกกบั ความเชอ่ื ทางศาสนา จงึ ควรมี
เอกสารท่ีจะส่ือความหมายและใหค้ วามร้เู กยี่ วกับงานประเพณที จ่ี ดั ขน้ึ ให้ผทู้ ่ีมาท่องเทยี่ วมีความเข้าใจถึง
ขนั้ ตอนและวธิ กี ารทางประเพณนี น้ั เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ จนนำ� ไปสกู่ ารดถู กู วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ และ
ประเพณีท่ีจัด ไม่ใช่มีเพียงก�ำหนดวัน เวลา และสถานท่ีจัดงาน ซ่ึงเป็นลักษณะของการให้ข่าวมากกว่า
การให้ความรู้
5.3 การจัดการด้านกายภาพ เช่น การจัดการด้านคมนาคม ความสะอาด ไฟฟ้าหรือ
แสงสวา่ ง งานประเพณคี วรมกี ารจดั การเกย่ี วกบั เสน้ ทางการเดนิ รถ การจดั ขบวนแหใ่ หเ้ หมาะสม การวางแผน
จัดการขยะมูลฝอยทง้ั ในช่วงเวลาก่อน ระหว่าง และหลงั จากจบงาน ถา้ มีการจัดงานในชว่ งเวลากลางคนื
ต้องมกี ารติดตั้งหลอดไฟใหแ้ สงสว่าง และเตรียมแผนรองรับหากเกดิ กระแสไฟฟ้าขัดขอ้ ง
5.4 การจัดการด้านความสะดวก การจดั การด้านน้ี นอกจากจะเปน็ การลดความแออดั ใน
พน้ื ทจี่ ดั งานแลว้ ยงั เปน็ การผอ่ นคลายความเดอื ดรอ้ นรำ� คาญดว้ ย สงิ่ สำ� คญั ทต่ี อ้ งจดั การคอื สถานทจ่ี อดรถ
พนื้ ทพ่ี กั ผ่อน หอ้ งสุขา เสน้ ทางเดนิ รถระหว่างมกี จิ กรรม การแนะนำ� ทพี่ กั แรม
5.5 การจัดการด้านความปลอดภัย ความปลอดภยั ในทนี่ นี้ อกจากหมายถงึ การปอ้ งกนั การ
เกิดอาชญากรรมแล้ว ยังหมายรวมถงึ การปอ้ งกนั อุบตั เิ หตุ และการเอาเปรียบนักท่องเทย่ี วดว้ ย โดยต้อง
จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจตรวจตราภายในพ้ืนท่ีจัดกิจกรรมและพ้ืนที่อ่อนไหวที่อาจเกิดเหตุร้ายได้ง่าย
จัดเตรยี มรถพยาบาล รถดบั เพลิง เตือนเร่อื งการเอาเปรียบนักท่องเท่ียวโดยใช้มาตรการทางกฎหมาย