Page 81 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 81
สาระและบริบทเกย่ี วกับการทอ่ งเที่ยว 2-71
4) ควบคมุ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากนกั ทอ่ งเทยี่ ว ซงึ่ เกดิ จากการกระทำ� ทข่ี าดความ
รบั ผดิ ชอบ ความคึกคะนอง ขาดจิตส�ำนึกทีด่ ี เชน่ ปีนป่าย ขดู ขดี ตอ่ เติม กะเทาะลวดลายตา่ งๆ หยิบ
ฉวยสง่ิ ของไปเปน็ สมบัตขิ องตน ควรตรวจตรา ควบคมุ ด้วยกลอ้ งวงจรปดิ มคี ำ� เตอื นและใช้มาตรการทาง
กฎหมาย
กล่าวโดยสรปุ ทรพั ยากรการทอ่ งเทีย่ วประเภทศาสนสถาน เปน็ ศนู ย์รวมของจิตใจและมีอิทธพิ ล
ตอ่ ผศู้ รทั ธา เนอ่ื งจากเปน็ สถานทท่ี ใี่ ชป้ ระกอบศาสนพธิ สี บื เนอ่ื งกนั มาชา้ นาน การละเมดิ ขอ้ หา้ มของศาสนา
การกระทำ� ทไี่ มใ่ หค้ วามเคารพตอ่ สถานที่ การปฏบิ ตั ติ นไมเ่ หมาะสมในเขตศาสนสถาน จะทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หา
แก่ทรพั ยากรการทอ่ งเท่ยี วประเภทนี้ หลายประเทศมีการจัดการศาสนสถานเพ่ือป้องกันการเกดิ มลภาวะ
กบั ศาสนสถาน ดว้ ยการใหน้ กั ท่องเท่ียวเดินจากจดุ จอดรถเข้าไปยงั ศาสนสถาน ห้ามใช้เคร่ืองขยายเสียง
ในเขตศาสนสถาน ห้ามขายสินคา้ ทุกชนิดในเขตทีก่ �ำหนดเพอื่ ลดความแออัด เป็นต้น
4. การจดั การทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วประเภทงานจติ รกรรมและงานประตมิ ากรรม ประเทศไทย
มีงานประตมิ ากรรมแบบลอยตวั จ�ำนวนมาก ส่วนใหญเ่ ป็นงานที่สร้างขึ้นเพอื่ ศาสนา และอยใู่ นอาคารของ
ศาสนสถานเรอ่ื ยมา งานบางสว่ นถกู จดั แสดงหรอื เกบ็ รกั ษาไวใ้ นพพิ ธิ ภณั ฑสถาน มกี ารบรหิ ารจดั การอยา่ ง
เปน็ ระบบ สว่ นจติ รกรรมและงานประตมิ ากรรมตดิ ทท่ี งั้ หมดยงั คงรกั ษาอยใู่ นสถานทเ่ี ดมิ บางแหง่ มกี ารจดั การ
ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ เชน่ โบราณสถานในอทุ ยานประวตั ศิ าสตรต์ า่ งๆ สว่ นทข่ี าดการจดั การทเ่ี หมาะสมซง่ึ อยู่
ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วตา่ งๆ จงึ มคี วามเสย่ี งตอ่ การเสอ่ื มคณุ คา่ อยา่ งมาก การจดั การเพอื่ มใิ หเ้ สอื่ มคณุ คา่ และ
ยงั คงความงดงามอย่ใู นลกั ษณะเดิม ซึ่งมวี ิธีการจดั การดงั น้ี (สินชยั กระบวนแสง, 2553, น. 19-20)
4.1 ความปลอดภัย ถอื วา่ มคี วามสำ� คญั อยา่ งมาก เพราะความเสยี หายสว่ นใหญม่ กั มสี าเหตุ
มาจากการกระท�ำของมนษุ ย์ ได้แก่ 1) การลกั ลอบท�ำลายเพ่อื ต้องการช้นิ ส่วนงานประติมากรรม 2) การ
โจรกรรม 3) การขดู ขดี ขดั ถู ปดิ ทอง สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของงาน 4) การวางเครอื่ งสกั การะบนประตมิ ากรรม
5) การเกดิ อคั คภี ยั
การจัดการเรื่องความปลอดภัย ควรใช้บุคลากรเดินตรวจตราประกอบกับการติดตั้งกล้อง
วงจรปิดตามความเหมาะสม มีร้ัวกั้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับงานจิตรกรรม ให้มีระยะห่างพอที่จะป้องกัน
การเอื้อมมือเข้าไปสัมผัส (ภาพท่ี 2.16) โดยออกแบบให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่แต่ละแห่ง
สว่ นการบชู าตามความศรทั ธาและความเชอ่ื ควรมปี ระตมิ ากรรมจำ� ลองและจดั พน้ื ทเี่ ฉพาะสำ� หรบั ใหก้ ราบไหว้
ดังภาพที่ 2.17