Page 14 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 14
6-4 การบรกิ ารและเผยแพร่สารสนเทศ
ตอนที่ 6.1
แหล่งช่วยค้นคว้าประเภทสารานุกรม
โปรดอ่านหวั เรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 6.1 แล้วจงึ ศึกษารายละเอยี ดต่อไป
หัวเร่ือง
6.1.1 ความหมาย ความสำ� คญั และประเภทของสารานุกรม
6.1.2 การประเมินแหลง่ ชว่ ยค้นคว้าและการใช้สารานกุ รม
6.1.3 ตวั อยา่ งสารานกุ รม
แนวคิด
1. สารานกุ รม หรอื encyclopedia มาจากรากศพั ทภ์ าษากรกี คอื “enkyklios” และคำ� วา่
“paideia” หมายถงึ แหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ ทใ่ี หค้ วามรใู้ นสาขาวชิ าตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ความรทู้ วั่ ไป
หรอื ความรเู้ ฉพาะสาขาวชิ าใดสาขาวชิ าหนง่ึ มกั นำ� เสนอเนอื้ หาในรปู ของบทความหรอื
ค�ำอธิบายสนั้ ๆ เน้ือหาเรียงตามลำ� ดับอักษรของหัวเรือ่ งหรือหวั ข้อวชิ านั้นๆ อาจจัดทำ�
ในรูปของส่งิ พมิ พป์ ระเภทหนงั สอื หรอื หนังสือชดุ หรือจดั ท�ำในรปู ของสื่อออนไลน์
2. ส ารานกุ รมมคี วามสำ� คญั ในฐานะเปน็ แหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ หาคำ� ตอบเกย่ี วกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ ใน
เรอื่ งตา่ งๆ ทั้งที่เป็นความรู้ทวั่ ไปและความรู้เฉพาะสาขาวิชา ใหข้ ้อมูลท่นี ่าเชอ่ื ถอื และ
บางสว่ นสามารถน�ำไปใช้อา้ งองิ ทางวชิ าการได้
3. ส ารานุกรมจ�ำแนกออกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) การจ�ำแนกตามขอบเขตเน้ือหา
ไดแ้ ก่ สารานกุ รมทว่ั ไป และสารานกุ รมเฉพาะวชิ า 2) การจำ� แนกตามระดบั ผอู้ า่ น ไดแ้ ก่
สารานกุ รมสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน และสารานกุ รมสำ� หรบั ผใู้ หญ่ 3) การจำ� แนกตามวธิ ี
การเผยแพร่ ไดแ้ ก่ สารานกุ รมฉบบั พมิ พ์ สารานกุ รมออนไลน์ และสารานกุ รมทเี่ ผยแพร่
ทง้ั ในรปู ของสง่ิ พมิ พแ์ ละออนไลน์ และ 4) การจำ� แนกตามวธิ กี ารจดั ทำ� ไดแ้ ก่ การจดั ทำ�
โดยบคุ คลหรอื คณะบคุ คล การจดั ทำ� โดยสำ� นกั พมิ พ์ และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนออนไลน์
ท่รี ว่ มกันแบง่ ปันขอ้ มลู บนอนิ เทอรเ์ นต็
4. ก ารประเมินแหล่งช่วยค้นคว้าประเภทสารานุกรมพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ ได้แก่
หลักฐานความน่าเชื่อถือ ขอบเขตเนื้อหา ความถูกต้องของเน้ือหา ความทันสมัยของ
เนอื้ หา ดรรชนชี ่วยคน้ รูปแบบในการจัดท�ำ และคา่ ใช้จา่ ย