Page 16 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 16
6-6 การบรกิ ารและเผยแพร่สารสนเทศ
เรื่องที่ 6.1.1
ความหมาย ความส�ำคัญ และประเภทของสารานุกรม
1. ความหมายของสารานุกรม
สารานกุ รม หรอื encyclopedia มาจากรากศพั ทภ์ าษากรกี คอื “enkyklios” และคำ� วา่ “paideia”
หมายถงึ แหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ ทใ่ี หค้ วามรใู้ นสาขาวชิ าตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ความรทู้ วั่ ไปหรอื ความรเู้ ฉพาะสาขาวชิ าใด
สาขาวชิ าหน่งึ มักน�ำเสนอเนือ้ หาในรปู ของบทความหรอื คำ� อธิบายสนั้ ๆ เนอ้ื หาเรยี งตามลำ� ดับอักษรของ
หัวเรื่องหรือหัวข้อวิชาน้ันๆ อาจจัดท�ำในรูปของสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือหรือหนังสือชุด หรือจัดท�ำใน
รปู ของสอื่ ออนไลน์ นอกจากคำ� วา่ “encyclopedia” ในภาษาองั กฤษยงั ปรากฏคำ� อน่ื ทห่ี มายถงึ สารานกุ รม
อีก อาทิ cyclopedia, encyclopaedia (The American Heritage Dictionary of the English
Language, 2019; Merriam-Webster, 2019; Levine-Clack & Carter, 2013)
แหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ ประเภทสารานกุ รมเปน็ สอ่ื อา้ งองิ ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะ (Katz, 2002; Wong, 2017,
pp. 478-479) ดงั น้ี
1.1 ขอบเขตเนื้อหา สารานุกรมให้บทความเกี่ยวกับข้อเท็จจริงท่ีเป็นความรู้ทั่วไปหรือความรู้
พ้ืนฐานเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงอาจครอบคลุมในสาขาวิชาต่างๆ เช่น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประวตั ศิ าสตร์ รฐั ศาสตร์ ปรชั ญา ศาสนา การศกึ ษา เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ หรอื ใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ เฉพาะสาขาวชิ า
โดยจัดท�ำเป็นเล่มเดียวจบหรือจัดท�ำเป็นชุด สารสนเทศท่ีให้มีท้ังที่เป็นความหมาย ประวัติความเป็นมา
วิวัฒนาการ สถิติ ประวัติบุคคลส�ำคัญ สถานท่ีส�ำคัญต่างๆ ท้ายบทความให้รายการบรรณานุกรม
สอื่ การศกึ ษาทเี่ กยี่ วข้องส�ำหรับศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เตมิ
1.2 ผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำ การจดั ท�ำสารานุกรมอาจด�ำเนินการโดยบุคคล คณะบคุ คล คณะ
บรรณาธิการ ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่เก่ียวข้อง ส�ำนักพิมพ์ท่ีมีชื่อเสียงเป็นท่ี
ยอมรบั ในผลงาน หรอื ชมุ ชนออนไลนท์ รี่ ว่ มกนั สรา้ งหรอื ปรบั ปรงุ เนอื้ หาบนเวบ็ ไซต์ เชน่ วกิ พิ เี ดยี เปน็ ตน้
1.3 วิธีการน�ำเสนอเน้ือหา มีการแบ่งเนื้อหาโดยแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อย และเสนอ
เน้ือหาโดยการประมวลความรู้ในรูปของบทความทั้งขนาดสั้นและขนาดยาว แต่ละบทความมีการจัดเรียง
อยา่ งเปน็ ระบบสะดวกตอ่ การคน้ หา สว่ นใหญจ่ ดั เรยี งตามลำ� ดบั อกั ษรของหวั ขอ้ เรอื่ ง และมดี รรชนชี ว่ ยคน้
เรื่องอย่างละเอียด ปัจจุบันส�ำนักพิมพ์ส่วนใหญ่จัดท�ำและเผยแพร่สารานุกรมออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์
ซึง่ มที ัง้ ท่ีตอ้ งสมัครเปน็ สมาชกิ และเสียคา่ ใชจ้ า่ ย และบางส่วนใหบ้ ริการโดยไมค่ ิดค่าใช้จา่ ย
1.4 การปรับปรุงเน้ือหา สารานกุ รมสว่ นใหญจ่ ะมกี ารปรบั ปรงุ เนอื้ หาใหท้ นั สมยั วธิ กี ารปรบั ปรงุ
อาจจัดท�ำในรูปของหนังสือรายปี เช่น Britannica Book of the Year หรือเลือกเฉพาะบางหัวข้อท่ี
พิจารณาแล้วเห็นว่าล้าสมัยสมควรได้รับการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน ส่วนสารานุกรมออนไลน์จะมีเนื้อหาที่
ทนั สมัยมากกว่า เน่ืองจากการปรับปรุงเนอื้ หาทำ� ไดส้ ะดวกและรวดเรว็ เพราะไม่ต้องมกี ระบวนการจัดท�ำ
รูปเล่มดังเชน่ สิง่ พิมพ์