Page 82 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 82

6-72 การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
            2.3.2 นามานุกรมออนไลน์ การคน้ ขอ้ มลู จากนามานกุ รมออนไลนส์ ามารถใชท้ างเลอื กซง่ึ มี

อยู่มากมายให้ผูใ้ ชไ้ ด้เลือกค้น เช่น การค้นหาโดยใชช้ อื่ บุคคล ต�ำแหน่ง ช่อื หนว่ ยงาน สถาบัน องคก์ าร
ตา่ งๆ การคน้ หาโดยระบเุ ขตพนื้ ทที่ างภมู ศิ าสตร์ การคน้ หาขอ้ มลู จากนามานกุ รมอนไลน์ มวี ธิ กี ารคลา้ ยคลงึ
กบั สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สป์ ระเภทอน่ื ๆ ผใู้ ชจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาวธิ คี น้ และวธิ ใี ชน้ ามานกุ รมออนไลนว์ า่ มวี ธิ กี ารคน้
หรอื มีเครื่องชว่ ยคน้ อะไรบา้ ง รายละเอียดต่างๆ มกั จะปรากฏทีห่ นา้ แรกของเวบ็ ไซต์ ซ่งึ จะเชื่อมโยงไปยงั
รายการอื่นท่เี กย่ี วขอ้ ง

กิจกรรม 6.3.2
       การประเมินแหลง่ ชว่ ยค้นคว้าประเภทนามานุกรม มหี ลกั เกณฑ์ในการพิจารณาอย่างไร

แนวตอบกิจกรรม 6.3.2
       การประเมินแหล่งชว่ ยค้นควา้ ประเภทนามานุกรมสามารถพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ ไดแ้ ก่
       1. 	 หลกั ฐานความนา่ เชอื่ ถอื พจิ ารณาจากผรู้ บั ผดิ ชอบในการจดั ทำ� ซงึ่ อาจจะเปน็ ผรู้ วบรวม หนว่ ยงาน

ส�ำนักพิมพ์ ควรเป็นหน่วยงานหรือสมาคมท่ีเก่ียวข้อง มีประสบการณ์และมีความรู้ความสามารถ และมี
ผลงานออกมาอย่างต่อเน่อื งจนเปน็ ทยี่ อมรบั โดยทว่ั ไป

       2. 	ขอบเขตเน้ือหา พจิ ารณาไดจ้ ากความสมบรู ณข์ องเนอ้ื หาวา่ ครอบคลมุ รายละเอยี ดทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ตามประเภทของนามานุกรมนั้น เช่น บุคคล ควรให้ชื่อ สกุล คุณวุฒิ ต�ำแหน่งหน้าท่ีรับผิดชอบ ท่ีอยู่
สถานที่ท�ำงาน และหมายเลขโทรศัพท์ หรือรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน ควรให้ช่ือหน่วยงาน
สถานทีต่ ั้ง ปีทีก่ ่อตง้ั หน้าท่ีและวตั ถปุ ระสงค์ในการด�ำเนินงาน เปน็ ตน้

       3.	 ความถูกต้องของเนื้อหา (accuracy) ผู้ใช้นามานุกรมสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมลู ไดโ้ ดยเลือกสมุ่ ชอื่ บุคคลหรอื องคก์ าร หนว่ ยงาน หรอื สถาบนั ท่คี ้นุ เคย และตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ของข้อมูลท่นี ำ� เสนอ 	

       4.	 ความทันสมัยของเนื้อหา (currency) พิจารณาจากปีที่พิมพ์กับเนื้อหา หรือพิจารณาจาก
นโยบายของผจู้ ดั ท�ำ เช่น ปรับปรุงขอ้ มลู ทุกปี หรือ ปรบั ปรงุ เฉพาะบางรายการที่มกี ารเปลี่ยนแปลงโดย
การแจ้งข่าวสารแก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้องให้ทราบถึงการเปล่ียนแปลงในแต่ละคร้ัง และด�ำเนินการปรับแก้ไขข้อมูล
ดว้ ยตนเอง

       5.	 ดรรชนีช่วยค้น (index) ผู้จัดท�ำนามานุกรมมักจัดท�ำดรรชนีช่วยค้นเน้ือหาภายในเล่ม โดย
จดั ทำ� ไว้ตอนทา้ ยของเล่ม ควรมีการจดั ทำ� ดรรชนีชว่ ยค้นอยา่ งละเอยี ดซ่ึงคำ� ทนี่ �ำมาทำ� ดรรชนอี าจเป็นชอื่
บคุ คล องคก์ าร หนว่ ยงาน หรอื สถาบนั เขตพน้ื ทท่ี างภมู ศิ าสตร์ และระบตุ ำ� แหนง่ เลขหนา้ ทปี่ รากฏขอ้ ความ

       6.	 รูปแบบในการจัดท�ำ (format) ปัจจุบันผู้ผลิตนิยมจัดท�ำนามานุกรมทั้งในรูปของฉบับพิมพ์
และออนไลนเ์ ชน่ เดียวกับสือ่ อา้ งอิงอน่ื ๆ ในกรณีท่เี ป็นฉบับพมิ พ์ควรพจิ ารณาเกย่ี วกบั ขนาดของตวั อกั ษร
การจัดวางข้อความแต่ละหน้า และความแข็งแรงทนทานของตัวเล่ม หากเป็นนามานุกรมออนไลน์ ควร
พิจารณาว่าการใช้และการเข้าถึงข้อมูลมีความยากง่ายมากน้อยเพียงใด มีเครื่องมือช่วยค้นหรือทางเลือก
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87