Page 9 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 9
(7)
ประโยชน์ส�ำหรับนักศึกษาในแง่ของการท�ำข้อสอบ เพ่ือการประเมินผลครั้งสุดท้ายของชุดวิชาและการได้
รับความรู้อย่างแท้จริง ฉะนั้นนักศึกษาจึงควรปฏิบัติกิจกรรมทุกอย่างด้วยตนเอง
4. การท�ำกิจกรรมในแบบฝึกปฏิบัติ
นักศึกษาควรบันทึกสาระส�ำคัญและท�ำกิจกรรมทุกอย่างท่ีได้รับมอบหมายในเอกสารการสอน
ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะมีผลในการเรียนของนักศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะนักศึกษาจะได้รับความรู้และ
ความเข้าใจในการศึกษาชุดวิชานี้
5. การรับฟังรายการวิทยุกระจายเสียงและรับชมรายการวิทยุโทรทัศน์ (ถ้ามี)
ชุดวิชาภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถิ่นไทยมีรายการวิทยุกระจายเสียง 10 รายการ รายการละ
20 นาที (ถา้ ม)ี บางรายการจะเสรมิ เนอื้ หาสาระส�ำคญั ใหห้ นว่ ยการสอนบางหนว่ ย แตจ่ ะมรี ายการเปน็ การ
ตอบปญั หาของนกั ศกึ ษาเกย่ี วกบั การศกึ ษาชดุ วชิ านี้ สว่ นรายการวทิ ยโุ ทรทศั นม์ ที งั้ หมด 4 รายการ รายการ
ละ 15 นาที (ถ้ามี) ท้ังรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุโทรทัศน์เป็นส่ือเสริมของชุดวิชา ถึงแม้
นกั ศึกษาจะไม่สามารถรบั ฟงั หรือรบั ชม กไ็ มเ่ ป็นอปุ สรรคต่อการศึกษาชดุ วิชานแ้ี ตอ่ ย่างใด แตถ่ า้ สามารถ
รับฟังและรับชมได้ก็จะท�ำให้มีความรู้และความเข้าใจกว้างขวางข้ึน
ในการรับฟังและรับชมรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุโทรทัศน์ นักศึกษาควรปฏิบัติ
ดังน้ี
5.1 ตรวจสอบตารางการออกอากาศและจดวัน เวลา และสถานที่ออกอากาศ
5.2 เตรียมตัวก่อนฟังรายการ
5.3 ปฏิบัติภารกิจหลังการฟังรายการ
5.4 ระหว่างฟังรายการโปรดบันทึกสาระส�ำคัญของรายการ
6. การรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา (ถ้ามี)
นักศึกษาสามารถใช้บริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา เพื่อเข้ารับการสอนเสริมตามวันและเวลา
ทก่ี �ำหนดไวใ้ นตารางสอนเสรมิ (ถา้ ม)ี นอกจากนี้ อาจรบั ฟงั เทปวทิ ยหุ รอื โทรทศั น์ หรอื อาจคน้ ควา้ หนงั สอื
และเอกสารต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้ที่ห้องสมุดของศูนย์บริการการศึกษา
ในการขอรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา นักศึกษาจะต้องน�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาและ
หลักฐานการลงทะเบียนชุดวิชาไปแสดงด้วย
7. การสอบ
เม่ือสิ้นสุดภาคการศึกษา นักศึกษาต้องเข้าสอบไล่ชุดวิชา ณ สนามสอบท่ีจัดไว้ที่ศูนย์บริการ
การศกึ ษา ตามวนั และเวลาทกี่ �ำหนด นกั ศกึ ษาตอ้ งน�ำบตั รประจ�ำตวั นกั ศกึ ษา ใบลงทะเบยี น และบตั รประจ�ำตวั
ประชาชนไปด้วย หาดขาดอย่างใดอย่างหน่ึงจะไม่มีสิทธ์ิเข้าสอบ