Page 12 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 12

8-2 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมทอ้ งถ่ินไทย

                  แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวชิ า	 	 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย
หนว่ ยที่ 8 	 วรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสาน
ตอนที่

       8.1 	ลกั ษณะวรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคอสี าน
       8.2 	วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคอีสานท่ีส�ำคัญ
       8.3 	ภาพสะทอ้ นสงั คมและวัฒนธรรมในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน

แนวคิด

       1. 	 ลกั ษณะวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคอสี าน มลี กั ษณะเปน็ วรรณกรรมของชาวบา้ นอยา่ งแทจ้ รงิ ชาวบา้ น
          เปน็ เจา้ ของสทิ ธ์ิ เปน็ ผสู้ รา้ ง โดยมวี ดั เปน็ สถาบนั กลางเปน็ ทเ่ี กบ็ รกั ษาและเผยแพร่ และชาวบา้ น
          ได้ใช้วรรณกรรมเป็นส่ือในการตอบสนองความเชื่อของสังคม ใช้เป็นตัวก�ำหนดรูปแบบ
          การด�ำเนินชีวิต ความคิด คติความเช่ือ และอุดมการณ์ของสังคม มีฉันทลักษณ์และภาษา
          เฉพาะถนิ่

       2. 	วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคอสี านทส่ี ำ� คญั มที ง้ั วรรณกรรมมขุ ปาฐะทมี่ กี ารจดจำ� และเลา่ สบื ตอ่ กนั มา
          แบบปากต่อปากจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ทั้งที่เป็นนิทาน ต�ำนานพื้นบ้าน ปริศนา
          ค�ำทาย ส�ำนวนภาษิต และเพลงพ้ืนบ้าน เป็นต้น และวรรณกรรมลายลักษณ์ท่ีมีการบันทึก
          เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร และประพนั ธ์เปน็ เรื่องราวด้วยฉันทลักษณ์ท้องถนิ่

       3. 	ภาพสะทอ้ นสงั คมและวฒั นธรรมในวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคอสี าน ปรากฏใหเ้ หน็ เดน่ ชดั เพราะ
          ผแู้ ต่งได้สอดแทรกวถิ ีสังคมวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินไว้ ตามยุคสมัยทแี่ ต่งวรรณกรรมเรอ่ื งนนั้ ๆ ถึง
          แม้วรรณกรรมบางเร่ืองจะมีการรับมาจากที่อ่ืน แต่ก็ได้มีการปรับเปล่ียนเนื้อหาบางส่วนเพื่อ
          ให้สอดคล้องกับวิถีสังคมวัฒนธรรมของท้องถิ่นตนเอง ท�ำให้วรรณกรรมท้องถิ่นอีสานเป็น
          เสมอื นภาพตวั แทนหรอื กระจกเงาทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพวถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยู่ สงั คมวฒั นธรรม
          ประเพณี พธิ กี รรม คติความเช่อื และโลกทัศนข์ องผ้คู นและสงั คมในสังคมภาคอีสาน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17