Page 15 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 15
วรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสาน 8-5
นอกจากน้ีวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสานส่วนหน่ึงยังได้รับการสืบทอดมาจากวรรณกรรมล้านนา
ซงึ่ อดตี เคยมคี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กบั อาณาจกั รลา้ นนา โดยเฉพาะในสมยั พระเจา้ โพธสิ ารราชแหง่ อาณาจกั ร
ล้านช้าง ซ่ึงได้ส่งราชทูตไปขอพระไตรปิฎกและพระมหาเถระจากอาณาจักรล้านนาไปเผยแผ่พระธรรมท่ี
อาณาจักรล้านช้าง และสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชได้เคยไปปกครองอาณาจักรล้านนาอยู่ในระยะเวลา
อนั สน้ั ๆ และไดก้ ลบั มาปกครองอาณาจกั รลา้ นชา้ งพรอ้ มทง้ั ไดน้ ำ� นกั ปราชญ์ ราชบณั ฑติ กลบั มาอาณาจกั ร
ลา้ นช้างด้วย ทำ� ใหว้ รรณกรรมอสี าน ซึง่ เคยเปน็ ส่วนหนง่ึ ของอาณาจักรลา้ นชา้ ง ไดร้ ับเอาวัฒนธรรมและ
วรรณกรรมจากอาณาจกั รลา้ นนาดว้ ยในเวลาตอ่ มา และมคี วามเหมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั กบั วรรณกรรม
ล้านนาหรือวรรณกรรมภาคเหนือของไทยเป็นจ�ำนวนมาก เช่น จ�ำปาสี่ต้น นางแตงอ่อน นางผมหอม
เปน็ ต้น แต่วรรณกรรมเหลา่ น้ยี งั ใชภ้ าษาถิ่นอีสาน สอดแทรกวิถีชีวติ คตินยิ มตามแบบทอ้ งถิ่นอีสาน และ
ใชอ้ ักษรทอ้ งถิ่นอีสานในการบนั ทกึ