Page 16 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 16
8-6 ภาษาถิน่ และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย
ตอนท่ี 8.1
ลักษณะวรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสาน
โปรดอา่ นหวั เรอ่ื ง แนวคิด และวตั ถปุ ระสงคข์ องตอนที่ 8.1 แล้วจึงศกึ ษารายละเอียดตอ่ ไป
หัวเรื่อง
8.1.1 ตัวอักษรท่ีใชบ้ นั ทึก
8.1.2 ลักษณะค�ำประพันธ์
8.1.3 เน้อื หา
8.1.4 สุนทรยี ภาพในวรรณกรรมท้องถิน่ ภาคอีสาน
แนวคิด
1. ในการบันทึกวรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสานในอดีต ชาวอีสานนิยมบันทึกลงในเอกสาร
ใบลาน ผา่ นกรรมวธิ ี “การจาร” ซงึ่ ชาวอสี านนยิ มใชจ้ ารลงบนใบลานมากกวา่ สมดุ ขอ่ ย
หรอื สมดุ ไทย ตวั อกั ษรทชี่ าวอสี านใชบ้ นั ทกึ นนั้ ในอดตี จะใชอ้ กั ษรทอ้ งถนิ่ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่
“อกั ษรธรรม” และ “อกั ษรไทยนอ้ ย” โดยสว่ นมากนยิ มใชต้ วั อกั ษรธรรมบนั ทกึ เรอ่ื งราว
เกยี่ วกบั คดธี รรมหรอื เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ศาสนา และนยิ มใชต้ วั อกั ษรไทยนอ้ ยบนั ทกึ เรอ่ื งราว
เก่ยี วกับคดโี ลก
2. ค �ำประพันธ์หรือฉันทลักษณ์ที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสานซึ่งเป็นท่ีนิยม
มากที่สุด มีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ โคลงสารหรือกลอนอ่าน กาพย์ และร่าย (ฮ่าย) โดย
โคลงสารเปน็ ฉนั ทลกั ษณท์ น่ี ยิ มมากทสี่ ดุ เพราะเหมาะกบั การอา่ นทำ� นองลำ� ของทอ้ งถนิ่
3. วรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสาน สามารถแบ่งเนื้อหาได้เหมือนกันกับวรรณกรรมท้องถ่ิน
อ่ืนๆ ของไทย มีลักษณะเฉพาะท่ีคล้ายคลึงกัน วรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสานมีท้ังท่ี
ผแู้ ตง่ ในทอ้ งถนิ่ สรา้ งสรรคข์ น้ึ เองและไดร้ บั มาจากทอ้ งถน่ิ อน่ื แลว้ นำ� เนอื้ หามาปรบั เปลย่ี น
ให้สอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรม คติความเชื่อ และการด�ำเนินชีวิตของชาวอีสาน และ
เนอ้ื หาสว่ นมากมกั จะเตม็ ไปดว้ ยอภนิ หิ ารเพอื่ จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ บญุ ญาธกิ ารของตวั ละคร
เอก บางเร่ืองไม่มีเน้ือหาเก่ียวกับศาสนาแต่ผู้แต่งประพันธ์ให้มีรูปแบบเหมือนกับ
วรรณกรรมพุทธศาสนา โดยการแต่งเลียนแบบนิทานชาดก เพ่ือเน้นความส�ำคัญของ
นทิ าน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนศรทั ธาเล่ือมใสในจริยาวัตรอันดีงามของตัวละครเอกและน�ำมา
เปน็ แบบแผนในการดำ� เนนิ ชวี ติ ซงึ่ เปน็ กศุ โลบายในการสอนจรยิ ธรรมแกผ่ คู้ นในสงั คม
อีสานอีกทางหน่ึง