Page 21 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 21

วรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคอีสาน 8-11

2. 	 อักษรไทยน้อย

       อกั ษรไทยนอ้ ย หรอื ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวเรยี กวา่ อกั ษรลาวบฮู าน หรอื อกั ษร
ลาวเดิม อักษรไทยนอ้ ยนีม้ ีอักขรวิธีเหมอื นกับอักขรวิธอี กั ษรไทย และมีอกั ขรวธิ ขี องอกั ษรธรรมปะปนอยู่
บางสว่ น โดยอกั ขรวธิ ขี องอกั ษรไทยนอ้ ยจะวางพยญั ชนะตน้ ไวบ้ นบรรทดั และวางสระไวร้ อบพยญั ชนะตน้
คอื ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั ดา้ นบน ดา้ นลา่ งเหมอื นอกั ขรวธิ ไี ทยปจั จบุ นั พยญั ชนะตวั สะกดกว็ างไวบ้ นบรรทดั
เดยี วกันกบั พยัญชนะ (ยกเว้น ตัว ย สะกดที่อาจใช้ตัวเฟอื้ ง ย อักษรธรรม และตัวเฟ้อื ง ส อักษรธรรม
ทีใ่ ช้สะกดแทน ด สะกด) สว่ นพยัญชนะตัวควบกลำ้�  จะวางไว้ใตบ้ รรทัด ยกเวน้ น และ ม เขยี นเช่อื มกับ
ตัวหน้าท่ีเป็นตัว ห น�ำ  นักอักขรวิทยาเช่ือว่าอักษรไทยน้อยเป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรไทยสมัย
สุโขทัย ผสมผสานกับตัวอักษรฝักขามของอาณาจักรล้านนาที่เข้าไปสู่ดินแดนอาณาจักรล้านช้างและได้
พฒั นารปู แบบอกั ษรเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปจนมคี วามตา่ งจากอกั ษรฝกั ขามและ
อกั ษรสโุ ขทยั สมยั พระยาลไิ ทมากขนึ้ ตามลำ� ดบั ในทสี่ ดุ รปู แบบสณั ฐานกพ็ ฒั นาตา่ งไปจากอกั ษรตน้ แบบทง้ั
สองและมีช่ือเรียกว่า “อักษรไทยน้อย” หรือ “อักษรลาวโบราณ” และได้เป็นต้นแบบของอักษรลาวใน
ปัจจุบันด้วย และเป็นอักษรที่ใช้อยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมไทย-ลาวซ่ึงอาศัยอยู่ลุ่มแม่น�้ำโขง กล่าวคือทั้ง
อาณาจกั รลา้ นชา้ ง (สปป.ลาวในปจั จบุ นั ) และภาคอสี านของไทยบางสว่ น โดยในอดตี ใชต้ วั อกั ษรไทยนอ้ ย
เปน็ อักษรทางราชการทีจ่ ดบนั ทึกเรื่องราวตา่ งๆ ทเ่ี ป็นคดีโลก เชน่ หนงั สอื ราชการ (ใบบอกหรือลายจุ้ม)
กฎหมาย วรรณกรรมนิทาน เปน็ ตน้

       รูปลักษณ์อักษรไทยน้อยในเอกสารใบลาน สมุดไทยและในรูปแบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน

                        ภาพท่ี 8.4 ตัวอย่างอักษรไทยน้อยในเอกสารใบลาน

                          ภาพที่ 8.5 ตัวอย่างอักษรไทยน้อยในสมุดไทย
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26