Page 24 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 24
8-14 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
เรื่องที่ 8.1.2
ลักษณะค�ำประพันธ์
ลักษณะค�ำประพันธ์หรือฉันทลักษณ์ท่ีปรากฏอยู่ในวรรณกรรมภาคอีสานซ่ึงเป็นที่นิยมมากที่สุด
มีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ โคลงสารหรือกลอนอา่ น กาพย์ และรา่ ย (ฮา่ ย)
1. โคลงสาร
โคลงสาร หรือกลอนอ่าน เป็นฉันทลักษณ์ที่นิยมมากท่ีสุด เพราะวรรณกรรมส่วนใหญ่จะนิยม
ประพนั ธเ์ ปน็ โคลงสารหรอื กลอนอ่าน เพราะเหมาะกบั การอา่ นทำ� นองล�ำของทอ้ งถน่ิ อสี าน (คล้ายท�ำนอง
ล�ำพ้ืนหรอื ลำ� เรื่อง) เช่น การอ่านหนงั สือผูกหรอื วรรณกรรมนิทานในงานศพ (งานบญุ งนั เฮือนด)ี ในเวลา
ผหู้ ญงิ อยไู่ ฟหรอื อยกู่ รรมออกลกู ใหมใ่ นอดตี และการเทศนท์ ำ� นองลำ� ของวรรณกรรมพทุ ธศาสนาหรอื ชาดก
ทอ้ งถนิ่ ฉะนนั้ จงึ ปรากฏวา่ วรรณกรรมสำ� คญั ๆ ของภาคอสี าน ประพนั ธด์ ว้ ยโคลงสารเปน็ สว่ นใหญ่ เชน่
สนิ ไซ การะเกด สรุ ยิ วงศ์ จำ� ปาสต่ี น้ ขลู ูนางอ้ัว ผาแดงนางไอ่ นางแตงอ่อน นางผมหอม ก�ำพรา้ ไกแ่ ก้ว
ก�ำพรา้ ผีนอ้ ย ปลาแดกปลาสมอ เปน็ ต้น โคลงสารของทีบ่ ันทกึ วรรณกรรมภาคอีสานนั้น จะมีแบบแผนที่
เป็นลักษณะเฉพาะท้องถน่ิ ดังน้ี
1.1 คณะหรือแบบแผนของโคลงสาร มดี งั นค้ี อื บทหนง่ึ มี 2 บาท/วรรค บาทหนงึ่ /วรรคหนง่ึ มี
7 คำ� โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหน้า 3 คำ� ส่วนหลัง 4 ค�ำ หรืออาจแบง่ เป็นสว่ นหน้า 5 คำ� สว่ นหลงั 2
ค�ำ ข้ึนอยู่กับผู้อ่าน-ผู้ขับแต่ละคน และต้องเอ้ือนเสียงให้ตกสัมผัส ซึ่งเป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของ
ฉันทลักษณ์พ้ืนบ้านอีสาน นอกจากนี้ในแต่ละบาท อาจจะมีค�ำเสริมข้างหน้าแต่ละบาท และค�ำสร้อยข้าง
หลงั แต่ละบาทเพม่ิ ไดอ้ กี 2-4 ค�ำ
1.2 เสียงเอก-โท โคลงสารน้ีก�ำหนดให้มคี ำ� เสยี งเอก-โท แตกตา่ งกันไป ได้แก่ บทเอก กำ� หนด
ใหม้ คี �ำเสยี งเอก 3 ตำ� แหนง่ และค�ำเสียงโท 2 ตำ� แหน่ง บทโท กำ� หนดใหม้ คี ำ� เสียงโท 3 ตำ� แหน่ง และ
คำ� เสียงเอก 3 ตำ� แหน่ง แต่โคลงสารนไ้ี ม่ไดเ้ ครง่ ครัดเสมอื นโคลงภาคกลางในปัจจุบนั
1.3 สัมผัส ในภาษาถิ่นอีสานเรียกว่า “ค�ำฟัด” หรือ “ค�ำก่าย” โคลงสารนิยมสัมผัสทั้งสระ
พยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ แต่จะไม่เคร่งครัดการสัมผัสนอก ซึ่งอาจจะมีสัมผัสหรือไม่สัมผัสก็ได้ โดย
ทว่ั ไปมักจะก�ำหนดตามแผนผงั ดังน้ี
ตวั อย่างวรรณกรรมเร่อื ง สงั ข์ศิลป์ชัย
ยังมี นัคเรศล�้ำ ชั้นช่ือเป็งจาล
มีคนหลาย คั่งเพ็งพอต้ือ
(พระอริยานุวัตร, 2531, น. 1)