Page 28 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 28

8-18 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถน่ิ ไทย

เรื่องท่ี 8.1.3
เน้ือหา

       วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคอสี านนน้ั สามารถแบง่ เนอ้ื หาอยา่ งกวา้ งๆ เหมอื นกนั กบั วรรณกรรมทอ้ งถนิ่
ภมู ภิ าคอนื่ ๆ ของไทย เพราะมลี กั ษณะเฉพาะทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั กลา่ วคอื โดยทว่ั ไปจะเปน็ วรรณกรรมทผ่ี แู้ ตง่
หรือนักปราชญ์ภายในท้องถิ่นสร้างสรรค์เองส่วนหน่ึง อีกส่วนหน่ึงเป็นวรรณกรรมที่ได้รับมาโดยตรงหรือ
ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากทอ้ งถนิ่ อน่ื ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั นำ� มาใชห้ รอื ประยกุ ต์ ปรบั เปลย่ี นใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ สี งั คม
ของท้องถิ่นตนเอง โดยทั่วไปวรรณกรรมที่สร้างสรรค์ข้ึนเองภายในชุมชนเกิดข้ึนเพ่ือตอบสนองรสนิยม
ความชนื่ ชอบ หรอื สอดคลอ้ งกบั วถิ วี ฒั นธรรมในการดำ� เนนิ ชวี ติ เนอ้ื หาวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ จงึ มกั จะมเี นอ้ื หา
สัมพันธ์กับบริบทและเงื่อนไขของสังคม เช่น สภาพทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน เป็นต้น
ส่งผลให้วรรณกรรมท้องถ่ินนั้นๆ มีเน้ือเร่ืองแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นหรือภูมิภาคนั้นๆ เช่น ภาคอีสาน
มีสภาพทางภูมิศาสตร์เป็นที่ราบสูง ต้องประสบปัญหาความแห้งแล้ง ขาดแคลนน้�ำ  เพราะฝนไม่ค่อยตก
จงึ มวี รรณกรรมทส่ี ะทอ้ นปญั หาความแหง้ แลง้ คตคิ วามเชอ่ื เกย่ี วกบั นำ�้ และพธิ ขี อฝน เชน่ เรอื่ งพญาคนั คาก
และเร่ืองผาแดงนางไอ่ เป็นตน้ นอกจากน้ยี งั มีวรรณกรรมประเภทอ่นื ๆ ที่มลี ักษณะเน้ือหาท่ีเก่ียวข้องกับ
วถิ วี ฒั นธรรม คตคิ วามเชอ่ื และการดำ� เนนิ ชวี ติ ของชาวอสี านทส่ี ะทอ้ นผา่ นวรรณกรรมทง้ั ทเ่ี ปน็ วรรณกรรม
มขุ ปาฐะทเ่ี ลา่ สบื ตอ่ กนั มาหรอื วรรณกรรมประเภทลายลกั ษณท มี่ กี ารบนั ทกึ ไวด้ ว้ ยอกั ษรทอ้ งถน่ิ ในเอกสาร
โบราณชนิดต่างๆ

1. 	 ประเภทของวรรณกรรม

       การแบง่ ประเภทเนอื้ หาของวรรณกรรมภาคอสี านนน้ั มผี จู ดั กลมุ ตามเนอ้ื หาไวห้ ลายประเภทแยก
ยอ่ ยแตกต่างกันไป แตโ่ ดยภาพรวมก็คลา้ ยคลงึ กนั เชน ธวัช ปณุ โณทก (2550, น. 14) ได้แบงเน้ือหา
ของวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคอสี านไว้ 5 ประเภท คอื 1) วรรณกรรมพทุ ธศาสนา 2) วรรณกรรมประวตั ศิ าสตร์
3) วรรณกรรมนทิ าน 4) วรรณกรรมคําสอน และ 5) วรรณกรรมเบด็ เตล็ด

       1) 	วรรณกรรมพุทธศาสนา มีทั้งวรรณกรรมชาดกที่พระสงฆ์นิยมน�ำมาเทศน์ และวรรณกรรม
ต�ำนานพุทธศาสนา โดยเฉพาะเป็นนิทานชาดกและนิทานธรรม เช่น ล�ำมหาชาติหรือเวสสันดรชาดก
พระเจา้ สบิ ชาติหรอื ทศชาติ สุทธนชู าดก สีทนมโนห์รา และตํานานพุทธศาสนา เช่น อุรังคนิทาน (ตำ� นาน
พระธาตุพนม) กาลนับมื้อส้วย (พุทธท�ำนายอายุพุทธศาสนา 5,000 ปี) ต�ำนานพระแก้ว พระบาง
พระแซกค�ำ พระเจา้ เลยี บโลก สังฮอมธาตุ ปฐมกัปปฐมกลั ป์ เปน็ ตน้

       2) 	วรรณกรรมประวัติศาสตร หรอื พนื้ สบื ทเ่ี ปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ หรอื ประวตั ิ
วรี บรุ ษุ ของทอ้ งถน่ิ ทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั คตคิ วามเชอ่ื และภมู นิ ามสถานทใ่ี นทอ้ งถน่ิ เชน ทา วฮงุ ทา วเจอื ง
พ้นื ขุนบรม พนื้ เวียงจนั ทน์ พ้นื เมอื งอุบล เปน ตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33