Page 30 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 30
8-20 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถ่ินไทย
นางเอก เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ กฎแหง่ กรรมทส่ี รา้ งรว่ มกนั มาแตช่ าตปิ างกอ่ น และในทสี่ ดุ กไ็ ดพ้ บกนั และกลบั
บ้านเมือง ได้ครองเมืองด้วยทศพิธราชธรรมบ้านเมืองอยู่ร่มเย็นเป็นสุข เนื้อเร่ืองวรรณกรรมนิทานอีสาน
จงึ เป็นเน้อื เรอ่ื งท่ีไม่ซบั ซอ้ นและด�ำเนนิ ไปตามล�ำดับเวลา
3. ธรรมเนียมนิยมในการแต่ง
สว่ นธรรมเนยี มในการแตง่ วรรณกรรมนทิ านของภาคอสี านนนั้ ผแู้ ตง่ พยายามจะประพนั ธว์ รรณกรรม
นทิ านใหม้ รี ปู แบบเหมอื นกบั วรรณกรรมพทุ ธศาสนา โดยการแตง่ เลยี นแบบนทิ านชาดก เชน่ มคี วามตอนตน้
กลา่ วถงึ เหตทุ พี่ ระพทุ ธเจา้ จะเทศนาอดตี ชาดกซง่ึ เปน็ อดตี ชาตขิ องพระองคใ์ หแ้ กภ่ กิ ษสุ งฆฟ์ งั โดยพยายาม
เนน้ วา่ เปน็ พทุ ธพจน์ ตอนทา้ ยเรอ่ื งกด็ ำ� เนนิ ตามแบบชาดก คอื มกี ารมว้ นชาดกหรอื ประชมุ ชาดก กลา่ วถงึ
การกลับชาตมิ าเกดิ ของพระโพธสิ ัตว์และบุคคลตา่ งๆ ของตวั ละครในเรือ่ ง แต่โดยความเป็นจริงแลว้ เรอ่ื ง
ราวเหลา่ นน้ั เป็นเพยี งนทิ านคติธรรมหรอื นิทานพน้ื บ้านเท่าน้ัน หรือบางเรอ่ื งไม่ไดพ้ รรณนาให้เหน็ เด่นชัด
วา่ เปน็ แบบชาดก แตก่ ม็ ขี อ้ ความทกี่ ลา่ วอา้ งวา่ เปน็ พทุ ธพจน์ หรอื เปน็ อดตี ชาตขิ องพระพทุ ธเจา้ ทกี่ ลา่ วถงึ
ตวั ละครเอกวา่ เปน็ พระโพธสิ ตั วล์ งมาเกดิ เพอ่ื ใชช้ าตหิ รอื บำ� เพญ็ บารมี เปน็ การเนน้ ความสำ� คญั ของนทิ าน
เพอื่ ใหป้ ระชาชนศรทั ธาเลอ่ื มใสในจรยิ าวตั รอนั ดงี ามของตวั ละครเอกในเรอื่ ง และเปน็ แบบแผนในการดำ� เนนิ
ชวี ติ โดยประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามจรยิ าวตั รของตวั ละครเอกเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ผลอนั ดที เี่ กดิ จากการทำ� ความดเี หมอื น
กบั พระเอกในนทิ านพนื้ บา้ น หรอื วรรณกรรมชาดก ซง่ึ เปน็ กศุ โลบายในการสอนจรยิ ธรรมแกผ่ คู้ นในสงั คม
นอกเหนือจากความบันเทิงใจ
ทั้งน้ี นิทานท่ีแต่งเลียนแบบนิทานชาดกทุกเรื่องมักจะประกอบด้วยโครงสร้างหรือองค์ประกอบ
ของเรอ่ื ง 5 สว่ น ซงึ่ ศกั ดศ์ิ รี แยม้ นดั ดา (2543, น. 40) ไดก้ ลา่ วถงึ รปู รา่ งหรอื ขนั้ ตอนในการแตง่ อรรถกถา
ชาดกวา่ วรรณกรรมชาดกเรม่ิ ตน้ จาก “ปจั จบุ นั วตั ถ”ุ คอื กลา่ วถงึ เรอ่ื งราวทเี่ กดิ ขน้ึ ในปจั จบุ นั อนั เปน็ สาเหตุ
ที่ท�ำให้พระพุทธเจ้าทรงเล่าเร่ืองย้อนอดีตให้ฟังว่าเหตุการณ์เช่นน้ันเคยมีมาแล้วในอดีต อย่างไร เมื่อจบ
ปัจจุบันวัตถุแล้วก็ถึงตอนที่สองเรียกว่า “อดีตวัตถุ” หรือเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งจะว่าเป็นตัวนิทาน
หรอื ตวั ชาดกแท้ๆ กไ็ ด้ จากน้นั จึงถงึ ตวั “คาถา” ที่เป็นถอ้ ยคำ� หรอื วาจาประกอบอดีตวัตถอุ ีกทีหนง่ึ จาก
คาถาจึงถึง “ไวยากรณ์” คอื ตอนอธบิ ายศัพท์หรือขอ้ ความทม่ี ีปญั หา แตก่ ม็ บี างคร้งั ทีเ่ ว้นตอนนี้เสยี กไ็ ด้
ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยเรยี กวา่ “สโมธาน” หรอื “ประชมุ ชาดก” คอื แจงตวั บคุ คลในเรอื่ งหรอื อดตี วตั ถวุ า่ ใครกลบั
ชาตมิ าเกดิ เป็นใครในชาติปัจจบุ ัน
องค์ประกอบของชาดกดงั กลา่ ว เปน็ ทนี่ ิยมทผ่ี แู้ ต่งวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ท่มี กั จะน�ำมาเป็นขนบหรือ
ธรรมเนียมนิยมในการแต่งวรรณกรรมนิทานพื้นบ้านเลียนแบบชาดกดังกล่าวมาข้างต้น เพื่อสร้าง
วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ปน็ วรรณกรรมพทุ ธศาสนาหรอื มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั พทุ ธศาสนา ในทนี่ จี้ ะนำ� ตวั อยา่ ง
เรื่องพระลักพระลาม สำ� นวนรอ้ ยแก้ว เป็นตัวอยา่ งในการอธิบายให้เหน็ ความชัดเจนในประเด็นดังกลา่ ว
1) ปัจจุบันวัตถุ เป็นการปรารภเรื่องหรือปรารภเหตุท่ีพระพุทธเจ้าต้องเทศนาชาดกเร่ืองน้ี โดย
การเล่าว่าเร่ืองนี้เกิดขึ้นท่ีใด สาเหตุท่ีเล่าเพราะอะไร ปัจจุบันวัตถุมักจะขึ้นต้นเหมือนกับบทข้ึนต้นของ
บทสวดพระสูตรท่ีขึ้นต้นด้วยค�ำว่า “เอวัมเม สุตัง” ทั้งนี้ผู้แต่งพยายามจะอ้างว่าเรื่องนี้มาจากพระพุทธ
พจนแ์ ละเปน็ เรอื่ งจรงิ ทพ่ี ระอานนทไ์ ดน้ ำ� มาชำ� ระรวบรวมไวใ้ นคราวสงั คายนาครงั้ ท่ี 1 ตอ่ จากนน้ั กย็ กคาถา