Page 35 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 35

วรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคอสี าน 8-25

เรื่องที่ 8.1.4
สุนทรียภาพในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน

       สุนทรียภาพ เป็นความรู้สึกและการรับรู้ได้ถึงความงามทั้งท่ีเกิดจากการสร้างสรรค์และทั้งท่ีเกิด
เองตามธรรมชาติ ซง่ึ พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ความงาม
ในธรรมชาตหิ รืองานศิลปะที่แตล่ ะบุคคลสามารถเข้าใจและรูส้ กึ ได”้ (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2545, น. 1205)
วรรณกรรมก็เป็นส่วนหน่ึงของงานศิลปะที่ถูกสร้างสรรค์ข้ึน ดังท่ี ชัชวาลย์ โคตรสงคราม (2550, น. 1)
กล่าวว่า วรรณกรรมเป็นงานสร้างสรรคท์ างศลิ ปะเพอ่ื แสดงโลกทัศน์ ความคิด จารตี ประเพณีทล่ี ึกซง้ึ ของ
มนษุ ย์ วรรณกรรมมคี วามงามทล่ี กึ ซงึ้ เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั ซง่ึ ไมใ่ ชค่ วามงามทางวรรณศลิ ปอ์ ยา่ งเดยี ว
แตต่ อ้ งมคี วามงามทางภมู ปิ ญั ญามาเปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ดว้ ย ดงั นน้ั วรรณกรรมแตล่ ะเรอื่ งจงึ สะทอ้ นให้
เห็นถึงสุนทรียภาพที่ถูกน�ำเสนอผ่านกลวิธีการใช้ภาษาในตัวบทวรรณกรรมซึ่งส่ือให้เห็นทั้งภาพพจน์และ
สำ� นวนโวหาร ทแ่ี ตล่ ะบคุ คลสามารถเขา้ ใจและรสู้ กึ ไดถ้ งึ ความงามดา้ นตา่ งๆ ทง้ั นก้ี ข็ นึ้ อยกู่ บั ประสบการณ์
อารมณ์ ความรสู้ ึกของแตล่ ะบุคคล

       ภาษาถอื ไดว้ า่ เปน็ เครอื่ งมอื ของการสอ่ื สารความตอ้ งการทางสนุ ทรยี ภาพจากการเสพวรรณกรรม
การใชถ้ อ้ ยคำ� ภาษาในการประพนั ธง์ านวรรณกรรมเปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการสอื่ ความหมาย อารมณ์ ความ
รสู้ กึ ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ บั ตามจดุ มงุ่ หมายของผปู้ ระพนั ธ์ ดงั นนั้ การใชภ้ าษาจงึ เปน็ ศลิ ปะอยา่ งหนงึ่ ของวรรณกรรม
หรอื ทเี่ รยี กวา่ “ภาษาวรรณศลิ ป”์ คอื ภาษาทป่ี ระกอบดว้ ยวรรณศลิ ปห์ รอื ภาษาทใี่ ชใ้ นงานวรรณศลิ ป์ (สจุ ติ รา
จงสถติ ยว์ ฒั นา, 2549, น. 1) และภาษาวรรณศลิ ปน์ นั้ เปน็ ลกั ษณะสำ� คญั ประการหนงึ่ ของวรรณกรรม เพราะ
เป็นคุณสมบัติที่จะท�ำให้เกิดสุนทรียภาพในวรรณกรรม ก่อให้เกิดความไพเราะโดยการใช้ถ้อยค�ำภาษาที่
งดงาม เนอ่ื งจากวรรณกรรมเปน็ ศลิ ปะทแี่ สดงดว้ ยถอ้ ยคำ�  และถอ้ ยคำ� นนั้ ตอ้ งเปน็ ถอ้ ยคำ� ทมี่ คี วามไพเราะ
สละสลวยและมคี วามชัดเจนที่ท�ำให้ผู้อ่านผฟู้ งั เกดิ อารมณ์ จนิ ตนาการและความรสู้ กึ คล้อยตาม ซึ่งในที่น้ี
จะกลา่ วถงึ สนุ ทรียภาพของวรรณกรรมท้องถิน่ อสี านผ่านสุนทรยี ภาพในคำ�  และสนุ ทรยี ภาพในความ

1. 	 สุนทรียภาพในค�ำ (รสค�ำ)

       สนุ ทรยี ภาพในคำ�  หมายถงึ ความงามอนั เกดิ จากการเลอื กสรรคำ� เพอื่ นำ� มาเรยี งรอ้ ยในบทประพนั ธ์
เพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึก และเกิดภาพพจน์คล้อยตาม ท�ำให้ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง การเลือกสรรค�ำของผู้แต่งน้ันมีความส�ำคัญมากเพราะรูปและเสียงของค�ำที่น�ำ
มาใชน้ นั้ มคี วามสมั พนั ธก์ ารสรา้ งอารมณแ์ ละความรสู้ กึ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความไพเราะ ความงาม ทำ� ใหผ้ อู้ า่ น
เกดิ จนิ ตนาการคล้อยตาม ซ่งึ สุนทรยี ภาพในคำ� น้ันประกอบด้วยเสียงของคำ�  การเลน่ คำ� และการสรรใช้คำ�  

       เสียงของค�ำมีความส�ำคัญมากท่ีท�ำให้งานประพันธ์น้ันมีความไพเราะโดยเฉพาะงานประพันธ์
ประเภทรอ้ ยกรอง ในการพจิ ารณาความไพเราะของเสยี งของค�ำนนั้ จะพจิ ารณาจากการเลน่ สมั ผสั เสยี งซงึ่
ประกอบด้วยการสัมผสั อักษรและสัมผัสสระ ซงึ่ ในที่น้จี ะยกตวั อยา่ งการสัมผัสอักษร
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40