Page 37 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 37
วรรณกรรมท้องถนิ่ ภาคอสี าน 8-27
ฟังยิน ตัวกล่าวท้วง ในเหล่าดอนเลา พุ้นเยอ
กาเวาวอน ส่งเสียงสูญเสี้ยง
ออกจากหั้น กลายเขตภูผา
พญาผาแดง พักแฮงเซาม้า
ผาแดงท้าว ถามบักสามจากล่าว
ไกลและใกล้ คราวเยิ้นดังใด แท้เด
(พระอริยานุวัตร, 2524, น. 15-16)
จากตวั อย่างจะเหน็ ว่าผู้แต่งได้เลอื กสรรคำ� มาบรรยายมที ้ังการสัมผัสท้ังอกั ษร มที งั้ 2 คำ� 3 คำ�
และ 4 ค�ำ (ซง่ึ ทำ� ได้ยากมาก) มที งั้ ติดกนั และเวน้ คำ� และมีทั้งการสมั ผัสภายในวรรคเดียวกันและสมั ผสั
ข้ามวรรค (ส่วนมากจะสัมผัสสระ) ท�ำให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังได้รับอรรถรสของความสัมผัส ก่อให้เกิดความ
ไพเราะ ความงามเกดิ สุนทรียะทางอารมณ์ ความรู้สึก และทำ� ใหผ้ ู้อา่ นเกิดจนิ ตนาการคลอ้ ยตาม
2. สุนทรียภาพในความ (รสความ)
สุนทรยี ภาพในความ หมายถึง ความงามอนั เกดิ จากการน�ำถอ้ ยคำ� ส�ำนวนโวหารมาประกอบกัน
เขา้ เปน็ ขอ้ ความหรอื เนอ้ื หาทส่ี อื่ ความหมายอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เพอ่ื จะโนม้ นา้ วใจใหผ้ อู้ า่ นเกดิ อารมณค์ วาม
รู้สึก และเกิดภาพพจน์คล้อยตามดังจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง สุนทรียภาพในความเกิดจากการที่ผู้แต่งได้
เลอื กสรรถอ้ ยคำ� เพอื่ นำ� มาเรยี งรอ้ ยในบทประพนั ธส์ รา้ งสรรคเ์ ปน็ โวหารใหม้ คี วามหมายหลากหลาย ทำ� ให้
เกดิ ภาพพจน์ เกิดรสวรรณคดี เกดิ สีสนั แหง่ อารมณแ์ ละความรู้สกึ ด้านตา่ งๆ ท�ำใหผ้ อู้ า่ นเกดิ จินตนาการ
คลอ้ ยตาม ภาพพจนถ์ อื วา่ เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั ในการสรา้ งวรรณศลิ ป์ เพราะเปน็ กลวธิ ใี นการประพนั ธ์
ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ภาพขนึ้ ในใจของผอู้ า่ นผฟู้ งั หรอื ทำ� ใหเ้ กดิ ความประทบั ใจมากขน้ึ กวา่ การใชถ้ อ้ ยคำ� ธรรมดาและ
เกดิ สนุ ทรียรสในการเสพวรรณกรรมนั้นๆ ดวงมน ปริปณุ ณะ (2516, น. 112) กลา่ วว่า ลักษณะส�ำคญั ของ
ภาพพจน์คือพลังท่ีจะก่ออารมณ์สะเทือนใจ ภาพพจน์ที่มีรูปต่างกันอาจก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจอย่าง
เดยี วกนั ได้ ทง้ั นกี้ ารเรยี บเรยี งถอ้ ยคำ� เพอ่ื สรา้ งภาพพจนน์ น้ั มหี ลายอยา่ ง เชน่ อปุ มา อปุ ลกั ษณ์ สญั ลกั ษณ์
บุคลาธิษฐาน อติพจน์ ปฏิพจน์ อวพจน์ นามนัย สัมพจนัย เป็นต้น แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการใช้
ภาพพจน์ท่ีมีปรากฏมากในวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานพอเป็นตัวอย่าง ได้แก่ อุปมา (simile) อุปลักษณ์
(metaphor) และอตพิ จน์ (hyperbole) ดังจะกล่าวต่อไปนี้
2.1 อุปมา (simile) คอื ภาพพจน์รปู แบบหนง่ึ เปน็ การเปรยี บเทยี บระหว่างของสองอย่างซึง่ อาจ
ไมใ่ ชข่ องชนิดเดียวกนั หรือเร่ืองเดียวกัน (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2552, น. 566) สิง่ ท่ีน�ำมาเปรียบเทยี บกัน
เป็นสิ่งที่รู้จักกันดี หรือเป็นการเปรียบว่าส่ิงหน่ึงเหมือนกับอีกส่ิงหนึ่ง โดยใช้ค�ำเช่ือมหรือตัวกลางในการ
เปรียบเทยี บ เชน่ ค�ำวา่ ดจุ ดงั่ เหมอื น ประดจุ เป็นดัง่ เหมือนด่ัง เป็นต้น อปุ มาเปน็ ภาพพจน์ทีน่ ยิ มมาก
กลา่ วคอื นยิ มใชใ้ นการพรรณนาโดยเฉพาะบทชมโฉม ชมบา้ น ชมเมอื ง ชมปา่ เป็นตน้ ดังตวั อยา่ งบทชม
โฉมพญาคันคากเมื่อถอดร่างเม่ือใดก็จะมีความงามเหมือนกับพระอินทร์เนรมิตไว้ สว่างสดใจเหมือนกับ
พระจันทรใ์ นวนั เพญ็ งดงามเหมือนกับพระอินทร์ ดงั ขอ้ ความวา่